Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาการคิด (สุนทรียสนทนา (แนวทางปฏิบัติ (ฟังอย่างลึกซึ้ง, มีความอิสระ…
การพัฒนาการคิด
สุนทรียสนทนา
ความหมาย
ประโยคสนทนาของบุคคลที่เป็นมิตรกันโดยปราศจากอคติ มีเป้าหมายเพื่อให้ทุกคนเกิดปัญญาญาณ
แนวทางปฏิบัติ
ฟังอย่างลึกซึ้ง
มีความอิสระ ไม่กดดัน
ให้เกียรติทุกคนในวงสนทนา
หลักการ
เข้าใจแนวคิดและปรัชญาของการสนทนา
เป็นกัลญาณมิตรกับทุกคน
รู้เท่าทันและควบคุมความรู้สึกตนเองไม่ให้เกิดอคติ
แนวคิด
SPEAKING
S : SETTING : ฉาก สถานที่ และเวลาของวงสนทนา
ควรจัดให้นั่งเป็นวงกลม
P : PROCESS : กระบวนสนทนาให้เป็นไปตามเหตุและปัจจัย
E : ENDS : เป้าหมายของวงสนทนา
A : ATTITUDE : การที่มีเจคติที่ดีต่อคนอื่น
K : KEY ACTOR : คณะทำงานที่อยู่เบื้องหลัง ผู้ประสานงาน
I : INSTRUMENT : เครื่องมือของวงสนทนา ต้องช่วยลดความเป็นทางการของการใช้ภาษา
N : NORMS OF INTERACTION : บรรทัดฐานของการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งต้องเท่าเทียมกัน
G : GENRE : ประเภทของการพูดคุย เป็นการพูดคุยแบบเปิด ไม่มีเป้าหมาย
สิ่งที่นักคิดควรจําแนกได้
ข้อเท็จจริง VS ข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง : สิ่งที่รับรู้ได้โดยทั่วไปและพิสูจน์ได้ว่ามีอยู่จริง
ข้อคิดเห็น : ข้อสรุปตามทัศนะของบุคคลที่เกิดขึ้น
กล่าวอ้าง VS หลักฐาน
กล่าวอ้าง
คำพูดของคนที่อยู่มในเหตุการณ์
คำบอกเล่าต่อๆกันมา
ความคิดเห็นของคนที่น่าเชื่อถือ
การเสนอเรื่องราวอย่างตอ่เนื่อง
หลักฐาน
มีการยืนยัน
สิ่งที่ใช้พิสูจน์ความถูกต้อง
ความคุ้นเคย VS ความสมเหตุสมผล
ควาคุ้นเคย : ความเคยชิน
ความสมเหตุสมผล : การมีเหตุผลสอดรับกัน
ความจริง VS ความเชื่อ
ความจริง : สภาวะที่เป็นจริงของสิ่งต่างๆ = ภววิสัย (objective) พิสูจน์ได้ด้วยหลักฐาน
ความเชื่อ : ความมั่นใจในบางสิ่ง = อัตวิสัย (subjaective) ขึ้นกับทัศนะและค่านิยมของแต่ละบุคคล
"ความเชื่ออาจเปลี่ยนเป็นความจริงได้ถ้าพิสูจน์ได้อย่างชัดเจน"