Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการพยาบาลทารกแรกเกิดคลอดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบาก(RDS) (การรักษา,…
แนวทางการพยาบาลทารกแรกเกิดคลอดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบาก(RDS)
การรักษา
1.การให้ออกซิเจนโดยรักษาระดับออกซิเจนในเลือด (PaO2)ระหว่าง 50-70มิลลิเมตรปรอทคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (PaCO2) 40-50 มิลลิเมตรปรอทและ pH. อยู่ระหว่าง 7.25-7.30 ทารกที่ระดับออกซิเจนต่ำจะได้รับการรักษาด้วยออกซิเจนผ่านทางฝาครอบใบหน้า (oxygen hood) อาจเริ่มค้าย FiO2 (fraction of inspired oxygen) 0.4 ถ้าระดับออกซิเจนยังต่ากว่า 50 มิลลิเมตรปรอทหรือความอิมตัวของออกซิเจนที่ตรวจสอบทางผิวหนง (transcutaneous oxygen saturation, TcSaOJ ตากว่า 90% จะค่อยๆเพิมออกซิเจนเป็น 0.6 หรือเริ่มให้การรักษาด้วย continuous positive airway pressure
2.การให้สารน้ำ อิเล็คโตลัยต์
3.การรักษาประคับประคองอื่นๆ
การรักษาอุณหภูมิร่างกาย
การให้เลือด
การให้ยาปฏิชีวนะเนื่องจากปอดอักเสบ
4.การใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะ RDS รุนแรง
5.การรักษาด้วยสารลดแรงตึงผิว (surfactant)
การประเมินภาวะสุขภาพ
2.มีอาการหายใจลำบากทันทีหรืออายุไม่เกิน 6 ชั่วโมง
3.ภาพรังสีปอด พบระดับกระบังลมด้านขวาอยู่สูงกว่ากระดูกซี่โครงซี่ที่ 7 และพบจุดเล็กๆที่เกิดจากถุงลมแฟบกระจายทั่วปอด ทั้ง 2 ข้าง (fine reticulogranular pattern)
1.ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด RDS ทารก Preterm อายุครรภ์น้อยกว่า 32-34 สัปดาห์
4.ผลการวิเคราะห์กาซในเลือด
พบผลการวิเคราะกาซในเลือด
พบภาวะพร่องออกซิเจน
ภาวะกรดจากการหายใจ (respiratory acidosis)
ภาวะเลือดเป็นกรดจากเมตาบอลิซึม
การป้องกัน
2.การให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์(corticosteriod) แก่มารดารที่มีอายุครรภ์ต่ำกว่า 34 สัปดาห์และมีแนวโน้มว่าจะคลอดก่อนกำหนด เพื่อใช้เร่งการเจริญเติบโตของปอด ร่วมกับให้ยายับยั้งการคลอดล่าช้าออกไปจะช่วยลดความรุนแรงของ RDS ได้
1.หลีกเลี่ยงปัจจัยส่งเสริมที่จะทำให้ทารกเกิดภาวะ RDS ที่สำคัญที่สุดคือ ป้องกันการเกิดก่อนกำหนด
การพยากรณ์โรค
ขึ้นอยู่กับน้ำหนัก อายุครรภ์ และการดูแลรักษา ถ้าอายุครรภ์และน้ำหนักน้อยจะมีอัตรตายสูง การดูแลรักษาโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในหน่วยอภิบาลทารกแรกเกิดจะลดอัตราตายและความพิการได้