Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ (มาตรฐานอาชีพของสาขาอาชีพต่างๆ (1.มาตรฐานอาชีพ…
วิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ
-
-
ระดับของมาตรฐานอาชีพ
ระดับ 1
เป็นมาตรฐานระดับกึ่งฝีมือ หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือและความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานที่ต้องมีหัวหน้าช่วยให้คำแนะนำหรือช่วยตัดสินใจเรื่องสำคัญเมื่อจำเป็น
ระดับ 2
เป็นมาตรฐานระดับฝีมือ หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือระดับกลาง มีความรู้ ความสามารถ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ได้ดี และมีประสบการณ์ในการทำงาน สามารถให้คำแนำนำผู้ใต้บังคับบัญชาได้
ระดับ 3
เป็นมาตรฐานระดับเทคนิค หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือระดับสูง สามารถวิเคราะห์ วินิจฉัยปํหา รู้ขั้นตอนกระบสนการของงานอย่างดี สามารถช่วยแนะนำงานฝีมือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ดี สามารถใช้หนังสือคู่มือ นำความรู้และความสามารถมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีใหม่ได้
ความหมายของมาตรฐานอาชีพ
มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) หมายถึง การกำหนดมาตรฐานของสมรรถนะความรู้และความเข้าใจในอาชีพ เกณฑ์การปฎิบัติงาน ขอบเขตของอาชีพ ความรู้ที่ต้องใช้ในอาชีพและผลงานที่เป็นรูปธรรมในการประกอบอาชีพโดยมีกรอบเเนวคิดเกี่ยวกับมาตรฐาานอาชีพมีดังนี้
งาน (Job) หมายถึง ภารกิจ หรือหน้าที่ ที่ต้องปฎิบัติงานหลายงาน
อาชีพ (Occupation) หมายถึง งานซึ่งบุคคลใดบุคคลหนึ่งปฎิบัติอยู่ไม่หมายรวมถึงอุตสาหกรรม กิจการ
-
- ทักษะระดับที่ 1 คือ ผู้ที่จบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษา
- ทักษะระดับที่ 2 คือ ผู้ที่จบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา
- ทักษะระดับที่ 3 คือ ผู้ที่จบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาสายอาชีพ ปวช. ปวส. และอนุปริญญา
- ทักษะระดับที่ 4 คือ ผู้ที่จบการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป
-
-
-
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพ
- ประโยชน์ต่อภาคเอกชน/สถานประกอบการ
- ได้รับความร่วมมือในการพัฒนาอาชีพร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
- สถานประกอบการได้รับผู้เข้าทำงานที่มีฝีมือตามมาตรฐาน
- ลดปัญหาหรือลดความเสียหายในกระบานการผลิต
- มีการประหยัดและได้รับผลผลิตเพิ่ม
- ได้สินค้าและบริการที่มีคุณภาพและแข่งขันได้
- ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะฝีมือ และทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
- ใช้เป็นแนวทางในการประกอบการพิจารณาจำดทำสูตรฝึกอบรมแรงงาน
- พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ให้สามารถแข่งขันในระดับนาๆชาติได้
- ประเทศมีฝีมือเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับทิศทางและความต้องการของธุรกิจ
- ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อรัฐบาลเนื่องจากได้รับความคุ้มครองที่ดีจากภาครัฐ
- ใช้ในการจัดระดับกำลังแรงงานของชาติ
- ประชาชนได้ใช้สินค้าที่มีคุณภาพดี ทนทาน ปลอดภัย
- ประชาชนลดความสูญเสียค่าใช้จ่ายจากสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ
- ประชาชนเกิดความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
- ประชาชนได้รับสินค้าและบริการที่พึงพอใจ
ทักษะตามมาตรฐานอาชีพ
ทักษะ (Skill) แสดงถึงความสามารถประกอบด้วย ขอบเขตตามสภาพในการปฏิบัติงาน เป็นการสะสมประสบการณ์จนเกิดความชำนาญ มีความสามารถเพียงพอที่จะทำงานได้อย่างมีคุณภาพตามตามข้อกำหนดและแล้วเสร็จ ซึ่งเป็นทักษะตามมาตรฐานอาชีพต่างๆ มีความแตกต่างกันและคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานได้กำหนดไว้ จำนวน 91 สาขาอาชีพ ตัวอย่างเช่น
- ทักษะอาชีพช่างไฟฟ้าภายนอกอาคาร มีทักษะ 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับ 1 ความสามารถในการปฏิบัติงานการเดินสายและต่อสายไฟฟ้า ได้ดังนี้
1. ตู้ควบคุม
2. ต่อสายได้ทุกวิธี โดยถูกต้องและปลอดภัย
3. พันฉนวนหุ้มบริเวณจุดต่อสายแบบต่างๆได้ถูกวิธี
4. การติดตั้งอุปกรณ์
5. สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนขนาดใหญ่
- ระดับ 2 ความสามารถในการปฏิบัติงาน ดังนี้
ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องมือวัดในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้
ก. ระบบอินเพุทและเอาท์พุท (I/O System)
ข. ระบบควบคุมสายดินและอุปกรณ์ติดตั้ง
ค. มอเตอร์ไฟฟ้าควบคุมการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
ง. มอเตอร์ไฟฟ้าควบคุมโดยโปรแกรมเมเบิล
จ. ระบบเครื่องกลอัตโนมัติและการควบคุม
การอ่านแบบและเขียนแบบ ดังนี้
ก. วงจรการเดินสายไฟฟ้า
ข. สัญลักาณ์ทางไฟฟ้าแบบต่างๆ
ค. การต่อสายและการเลือกใช้สายไฟฟ้า
ง. การตรวจอุกปรณ์ระบบควบคุม
- ระดับ 2 ความสามาในการปฎิบัติงาน ดังนี้ ติดตั้งอุกปรณ์ควบคุม ได้แก่
ก. โปรแกรทควบคุบ
ข.สายดินสำหรับการควบคุม
ค. เครื่องมือวัด
การจัดการตรวจสอบแก้ไขและซ่อมบำรุงอุปกรณ์ควบคุมการคำนวณและการออกแบบ ได้แก่
ก. สายไฟฟ้า
ข. การลัดวงจร
ค. สายดิน
ง. ประเมินราคา
-