Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ (อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานอาชีพกลุ่ม (สาขาอาชีพช่างสีรถ…
วิเคราะห์มาตรฐานอาชีพ
-
-
ระดับของมาตรฐานอาชีพ
-
ระดับที่ 1
เป็นมาตรฐานระดับกึ่งฝีมือ หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือและความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานที่ต้องมีหัวหน้าช่วยให้คำแนะนำหรือช่วยตัดสินใจเรื่องสำคัญเมื่อจำเป็น
ระดับที่ 2
เป็นมาตรฐานระดับฝีมือ หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือระดับกลาง มีความรู้ ความสามารถ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ได้ดี และมีประสบการณ์ในการทำงาน สามารถให้คำแนำนำผู้ใต้บังคับบัญชาได้
ระดับที่ 3
เป็นมาตรฐานระดับเทคนิค หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือระดับสูง สามารถวิเคราะห์ วินิจฉัยปํหา รู้ขั้นตอนกระบสนการของงานอย่างดี สามารถช่วยแนะนำงานฝีมือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ดี สามารถใช้หนังสือคู่มือ นำความรู้และความสามารถมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีใหม่ได้
ประโยชน์ของมาตรฐานอาชีพ
- ประโยชน์ต่อภาคเอกชน/สถานประกอบการ
- สถานประกอบการได้รับผู้เข้าทำงานที่มีฝีมือตามมาตรฐาน
- ลดปัญหาหรือลดความเสียหายในกระบานการผลิต
- มีการประหยัดและได้รับผลผลิตเพิ่ม
- ได้รับความร่วมมือในการพัฒนาอาชีพร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
- ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะฝีมือ และทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
- ได้สินค้าและบริการที่มีคุณภาพและแข่งขันได้
- พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ให้สามารถแข่งขันในระดับนาๆชาติได้
- ใช้เป็นแนวทางในการประกอบการพิจารณาจำดทำสูตรฝึกอบรมแรงงาน
- ใช้ในการจัดระดับกำลังแรงงานของชาติ
- ประเทศมีฝีมือเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับทิศทางและความต้องการของธุรกิจ
- ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อรัฐบาลเนื่องจากได้รับความคุ้มครองที่ดีจากภาครัฐ
3.ประโยชน์ต่อประชาชน
- ประชาชนได้ใช้สินค้าที่มีคุณภาพดี ทนทาน ปลอดภัย
- ประชาชนลดความสูญเสียค่าใช้จ่ายจากสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ
- ประชาชนได้รับสินค้าและบริการที่พึงพอใจ
-
-
ความหมายของมาตรฐานอาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการ ศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดคุณภาพใน การประกอบวิชาชีพ สามารถสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็น บริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้ความสำคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกำหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุมนั้น
-
-
ประเภทมาตรฐานอาชีพ
ประเภทมาตรฐานอาชีพ คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยกองมาตรฐานฝีมือแรงงานได้แบ่งประเภทมาตรฐานอาชีพออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
-
-
-
-
-
-