Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด (Substance-related Disorders) (Alcohol (Alcohol…
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด
(Substance-related Disorders)
Alcohol
การออกฤทธิ์
ระยะแรก : กระตุ้นประสาท ตื่นเต้น มีความสุข
ระยะต่อมา : กดประสาท ง่วงหลับ หมดสติ
ออกฤทธิ์โดยจับกับGABA receptor จะกดประสาท มีผลต่อการเคลื่อนไหว อารมณ์ สติสัมปชัญญะ
ปัจจัยการติดสุรา
ด้านตัวบุคคล Individaul - พันธุกรรม
ด้านชีวภาพ Biological - เกี่ยวข้องกับสมองส่วน Limbic Area
ด้านการเรียนรู้ Learning - กระบวนการเรียนรู้และซึมซับ เช่นลูกดื่มเหล้าตามพ่อแม่
ด้านบุคลิกภาพ Personality - บุคลิกภาพแบบพึ่งพา ขาดความเชื่อมั่น ต่อต้านสังคม อารมณ์ไม่มั่นคง
ด้านโรคทางจิตเวช Psychaitric - โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล โรคจิตเภท เป็นต้น
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา
C : Cut down = เคยคิดที่่จะลดการดื่มลงไหม?
A : Annoyed = เคยรำคาญคนที่ตำหนิเรื่องที่ดื่มสุราหรือไม่?
G : Guilty = เคยรู้สึกผิดเพราะดื่มสุราหรือไม่?
E : Eye opener = ต้องดื่มสุราในตอนเช้าเพื่อแก้อาการเมาค้างหรือไม่?
ใน 1 ปีที่ผ่านมา ใช่2ข้อขึ้นไป=อาจAlcohol dependence
ถ้าไม่ก็ยังเสี่ยงอยู่เพราะดื่มเยอะ
AUDIT = Alcohol Use Disorders Identification Test
Primary care setting
Self-rating
ใช้ง่าย สั้น ยืดหยุ่น
การติดสุรา Alcohol Dependence
ลักษณะสำคัญ 3 ใน 7 อย่าง
Tolerance : เพิ่มปริมาณเพื่อให้ได้ฤทธิ์เท่าเดิม
Withdrawal : มีอาการทางร่างกายเมื่อไม่ได้ดื่ม
Impaired Control : ควบคุมการดื่มไม่ได้
Cut Down : พยายามเลิกแล้วแต่ไม่สำเร็จ
Time Spent Drinking : หมกมุ่นกับการดื่ม
Neglect of Activity : บกพร่องในหน้าที่
Drinking Despite Problem : ยังคงดื่มอยู่ทั้งที่มีผลเสียเกิดขึ้น
Alcohol induce disorders
Alcohol withdrawal
อาการ
6-8 ชม. – สั่น หงุดหงิด กระสับกระส่าย คลื่นไส้อาเจียน ประสาทตื่นตัว สัญญาณชีพเพิ่มขึ้น เหงื่อแตก
8-12 ชม. – ประสาทหลอน ภาพหลอน หูแว่ว ประสาทหลอนทางสัมผัสผิวหนัง หลงผิด
12-24 ชม. – ชัก อาจชักมากกว่า 1 ครั้ง เสี่ยงในการเกิดอาการสับสน (DTs)
24-36 ชม. – อาการมากที่สุดกรณีถอนไม่รุนแรง ผ่านช่วงนี้ไปอาการจะลดลง
48-72 ชม. – สับสน (Delirium Tremens) กระสับกระส่ายอย่างรุนแรง เฉลี่ย 2-3 วัน แต่อาจเป็นได้หลายวัน
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติ Alcohol dependence และมีการหยุดหรือลดการดื่มแอลกอฮอล์ลง
เคยมีประวัติ Seizure หรือ DTs หลังจากหยุดดื่มแอลกอฮอล์
มีประวัติ Sedative-hypnotic dependence ร่วมด้วย
มีความผิดปกติของสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
Hypokalemia
Hypomagnesaemia
Metabolic alkalosis
Dehydration
Hypoxia
มีภาวะทางอายุรกรรมร่วมด้วย
Pneumonia or other chest infection
Other causes of sepsis
Acute pancreatitis
มีประวัติ surgery
Orthopaedic surgery
Post by-pass
Gastrectomy
ได้รับการดมยาแบบ General anesthesia
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีตัวกระตุ้นเร้ามาก
การดูแล
ประเมินอาการความรุนแรงของการถอนพิษสุรา
Alcohol withdrawal rating scales เช่น MINDS scale
กรณีที่ควรรับเข้าอยู่โรงพยาบาล
อาการถอนรุนแรง เช่น MINDS scale ≥ 10
มีโรคอายุรกรรมหรือโรคจิตเวชรุนแรงแทรกซ้อน
เสี่ยงในการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
มีประวัติ DTs หรือ withdrawal seizure มาก่อน
รักษาแบบผู้ป่วยนอกแล้วไม่สำเร็จ
ให้สารน้ำและเกลือแร่ชดเชยอย่างเพียงพอ ติดตามอาการใกล้ชิด
ลดสิ่งเร้าที่มากระตุ้นผู้ป่วย จัดให้อยู่มุมสงบ แต่ดูอาการได้ง่าย
ผูกมัดกรณีที่อาจเป็นอันตราย
ระวังผู้ป่วยทำร้ายตนเอง หรือผู้อื่น
ให้การรักษาด้วย Diazepam 10 mg IV ทุก 1 ชม. จนสงบ
หากมีอาการทางจิต หรือกระสับกระส่ายมาก อาจให้ Haloperidol 2-5 mg IM ทุก 6 ชม.เสริม
Alcohol induce seizure
Alcohol withdrawal delirium
Alcohol induced psychotic disorder
อาจมีอาการหลงผิด หรือ ประสาทหลอน โดยที่ไม่มีอาการสมองสับสน
เกิดในช่วงหยุดหรือยังดื่มสุราอยู่ก็ได้
รักษาด้วยยา Benzodiazepine ร่วมกับ Antipsychotic
Wernicke's encephalopathy
Opthalmoplegia esp.CN VI, Ataxia, Confusion
การป้องกันควรให้ Thiamine 100 mg IM 3 วัน
Kosarkoff's encephalopathy
การสูญเสียความจำระยะสั้น (recent memory)
ผู้ป่วยมักไม่มี confusion หรือ disorientation
Immediate recall และ remote memory มักเป็นปกติ
รักษาด้วย Thiamine 100 mg รับประทานทุกวันเป็นเวลา 3-12 เดือน
Alcohol dementia
Alcohol intoxication
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบ
ระวังการทำร้ายตัวเองและผู้อื่น
กรณีวุ่นวายไม่สงบ อาจให้ diazepam 5 – 10 มก. ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ส่วนใหญ่จะคอยให้อาการค่อยๆสงบลง
กรณีที่รุนแรงมากอาจถึงชีวิตได้ ควรใส่ท่อเพื่อช่วยหายใจ อีกทั้งยังช่วยป้องกันการกลืนสำลักอีกด้วย
Therapy
Pharamacotherapy
Disulfiram (Antabuse®)
Naltrexone (Revia®)
Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRI)
ยาที่รักษาโรคจิตเวชที่เกิดร่วม
บำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดเพื่อปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT)
การสัมภาษณ์และการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (MI/MET)
Community Reinforcement and Family Training (CRAFT)
การดูแลรายกรณี (Case management)
กลุ่มช่วยเหลือตนเอง (Self-help group) เช่น กลุ่มผู้ติดสุรานิรนาม (Alcoholics Anonymous (AA)
การส่งเสริมให้พัฒนาไปตามหลัก 12 ขั้นตอน (Twelve steps facilitation; TSF)
การพยาบาล
การพยาบาลระยะแรก มีเป้าหมายเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาจากการดื่มสุรา
ให้ได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและให้การดูแลรักษาเบื้องต้น
การพยาบาลระยะถอนพิษสุราและโรคร่วม สิ่งที่ต้องระวัง
เฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุ
เฝ้าระวังภาวะชักที่อาจเกิดใน 24 ชม. หลังหยุดดื่ม
เฝ้าระวังการสำลักอาหาร และน้ำ
เฝ้าระวังการเสียน้ำจากการอาเจียนและถ่ายเหลว
เฝ้าระวังภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ห้ามฉีดยาเข้ากล้ามในกรณีเกล็ดเลือดต่ำ
การพยาบาลระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อเตรียมให้ผู้ป่วยพร้อมในการกลับเข้าสู่สังคม ไม่กลับไปดื่มสุราซ้ำ
การพยาบาลระยะหลังการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยคงอยู่ในสังคมได้โดยไม่ดื่มหรือมีการดื่มลดลงอยู่ในระดับที่
ป้องกันการกลับไปดื่มซ้ำ
Tobacco
การติดบุหรี่
ติดนิโคติน
ติดทางอารมณ์จิตใจ
ติดทางพฤติกรรมและสังคม
ลักษณะทางคลินิก
Nicotine dependence (การติดนิโคติน)
Nicotine Withdrawal (การขาดนิโคติน)
การรักษา
Nonpharmacological Treatment
การสัมภาษณ์และการบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (MI/MET)
Pharmacological treatment
ยาที่ไม่มีส่วนประกอบของนิโคติน
Bupropion sustained release
Nortriptyline
ประเภทนิโคตินทดแทน
Sustained-release NRT
-ออกฤทธิ์ได้นาน
-onset ในการออกฤทธิ์ช้า
Transdermal Nicotine Patch
Rapid-acting NRT
-ออกฤทธิ์ได้เร็ว
-ลดอาการถอนแบบเฉียบพลัน
-หลีกเลี่ยงในหญิงตั้งครรภ์
nicotine gum
Nicotine Nasal Spray
nicotine sublingual tablet
nicotine oral inhaler
nicotine lozenge
การพยาบาล
กลุ่มไม่คิดจะเลิกสูบ
เพื่อให้ผู้ป่วยเริ่มคิดหรือ คิดถึงการเลิก
1.สร้างความตระหนัก
2.ให้คำปรึกษา
3.เสริมสร้างแรงจูงใจ
กลุ่มเริ่มคิดถึงการเลิกสูบ แต่ยังไม่พร้อมที่จะเลิก
เพื่อให้ผู้ป่วยคิดถึงการเลิกสูบ
1.สร้างความตระหนัก
2.ให้คำปรึกษา
3.เสริมสร้างแรงจูงใจ
กลุ่มพร้อมจะเลิกบุหรี่
เพื่อให้ผู้ป่วยพร้อมสำหรับการเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง
1.สร้างแรงจูงใจ
2.สนับสนุน
3.ให้คำปรึกษาและความรู้
กลุ่มกำลังเลิกบุหรี่ และเลิกได้ภายใน 6 เดือน
เพื่อให้ผู้ป่วยหลุดพ้นจากอาการขาดนิโคตินและไม่กลับไปสูบบุหรี่ซ้ำ
1.สนับสนุน
2.ให้คำปรึกษา
3.สร้างแรงจูงใจ
กลุ่มเลิกได้แล้ว 6 เดือนขึ้นไป
เพื่อให้ผู้ป่วยเลิกบุหรี่ อย่างถาวร
1.สนับสนุน
2.ให้คำปรึกษา
3.สร้างแรงจูงใจ