Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวชที่พบบ่อย (F90-F99…
ลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวชที่พบบ่อย
F00-F09 ความผิดปกติทางจิตใจที่มีสาเหตุจากโรค รวมทั้งที่มีอาการทางกาย
Delirium : : ภาวะสมองสับสนเฉียบพลัน
ลักษณะสำคัญ
ประสาทหลอน หูแว่ว
พูดหรือใช้ภาษาผิด
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
กลางคืนไม่หลับ วุ่นวาย
มีภาวะสับสนเกิดขึ้นอย่างเฉีบพลัน
กลุ่มอาการที่มีสมองทำหน้าที่ผิดปกติชั่วคราว ทำให้หน้าที่โดยรวมของสมองบกพร่อง
DSM-IV Diagnosistic Criteria for Delirium
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน
ซึม ไม่ตื่นตัวหรือตื่นตัวมากกว่าปกติ
บกพร่องในการตั้งใจ ความใส่ใจและเปลี่ยนความสนใจ
มีการเปลี่ยนแปลงของ cognition
ความจำเสีย disorientation
การพูดผิดปกติ
การรับรู้ผิดปกติ
Dementia : โรคสมองเสื่อม
อาการที่พบบ่อย
การใช้ความคิด และการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มีการเปลี่ยนแปลง
บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
หงุดหงิดง่าย
เฉื่อยชา
เมินเฉย
DSM-IV Diagnosistic Criteria for Dementia
มีความบกพร่องทางด้าน Cognitive
ความจำเสื่อม
อย่างน้อยมี1ข้อของความผิดปกติ
aphasia
apraxia
executive function
ความผิดปกติทำให้เกิดความบกพร่องทางสังคม และอาชีพการงาน
การดำเนินของโรคเกิดขึ้นอย่างช้าๆ
ความผิดปกติดังกล่าวไม่ได้เกิดเฉพาะในช่วง Delirium
ลักษณะที่สำคัญ
ความจำเสื่อม
ความคิดนามธรรมเสีย
การตัดสินใจเสีย ไม่สามารถควบคุม impluseได้
ใช้ภาษาหยาบคาย
ไม่สนใจความสะอาดร่างกาย
แสดงออกทางเพศไม่เหมาะสม
การสูญเสียหน้าที่ของสมองชั้นสูง
การเปลี่ยนแปลงในบุคลิกภาพ
F10-F19 ความผิดปกติทางจิตใจและพฤติกรรมเนื่องจากการใช้วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
Alcohol Intoxication : เมาเหล้า
เพิ่งมีการดื่มเหล้าและมีอาการมากกว่า 1 อย่าง
พูดไม่ชัด พูดอ้อแอ้
การประสานงานของกล้าเนื้อไม่ดี
เดินเซ เดินสะเปะสะปะ
ลูกตากระตุก
เสียความทรงจำและสมาธิ
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว
Alcohol dependence : ภาวะติดเหล้า
เกิดภาวะ tolerance
เกิดอาการ withdrawal เมื่อลดหรือหยุดดื่ม
Alcohol withdrawal : ภาวะถอนเหล้า
หยุดหรือลด หลังการดื่มเหล้าอย่างมากและเป็นเวลานาน
มีอาการมากกว่า 2 อย่าง
Autonomic hyperactivity
มือสั่น
นอนไม่หลับ
คลื่นไส้ อาเจียน
visual,tactile or auditory hallucination or illusion
กระสับกระส่าย
วิตกกังวล
ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว
F20-F29 จิตเภท พฤติกรรมแบบจิตเภทและความหลงผิด
Psychosis : โรคจิต
อาการ
Delusion อาการหลงผิด
non-bizarre delusion
bizarre delusion
persecutory delusion
grandiose delusion
delusion of jealousy
Hallucination อาการประสาทหลอน
Abnormal Affect ความผิดปกติของอารมณ์
Abnormal speech
Abnormal in Thought process Disorganize speech
Disorganized behavior พฤติกรรมที่ไม่อยู่กับร่องรอย
DSM-IV Diagnosistic Criteria for Schizophrenia
ลักษณะอาการเฉพาะมากกว่า 2 ข้อ อย่างน้อย 1 เดือน
อาการหลงผิด
อาการประสาทหลอน
Disorganize speech
Disorganized catatonic behavior
negative symtoms
ระยะเวลาความผิดปกติต่ิเนื่องอย่างน้อย 6เดือน
ไม่เข้ากับ Schizophrenia disorder และ Mood Disorder
ไม่ได้เกิดจากสารเสพติด หรือโรคทางร่างกาย
มีการเสื่อมเสียหน้าที่การงาน
F30-F39 ความผิดปกติทางอารมณ์
โรคซึมเศร้า : Depressive Disorders
อาการสำคัญ
อารมณ์เศร้า
หดหู่ สะเทอนใจ
ร้องไห้ง่าย
เบื่อหน่าย ไม่มีความสุข
อาการทางร่างกายของโรคซึมเศร้า
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด 5%จากเดิม หรืออาจกินมากขึ้น น้ำหนักเพิ่ม
นอนไม่หลับหรือหลับมากไป
รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เคลื่อไหวช้า เฉื่อยชา พูดน้อย คิดนาน
ผู้หญิงอาจมีประจำเดือผิดปกติ
สมาธิลดลง หลงลืมง่าย
มองโลกในแง่ลบ มองตัวเองไม่มีคุณค่า
Major Depressive Disorder : DSM-IV
มีอาการมากกว่า 5 ข้อเกิดขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์
depression mood
interest or pleasure
weight loss or weight gain
insomnia or hypersomnia
psychomotor agitation or retardation
fatigue or loss of energy
felling of worthlessness or guilt
ability to think or concentrate or indecisiveness
thoughts of death
เกิด distress อย่างมาก
ไม่เกิดจากยาหรือสารเสพติด หรือโรคทางกาย
ไม่เกิดจาก Bereavement
โรคอารมณ์สองขั้ว : Bipolar Didorder
เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีอารมณ์ขึ้นสลับกลับอารมณ์เศร้า
อาการของ Mania
ด้านอารมณ์
มีความสุขมาก อารมณ์ดี
ล้อเลียนผู้อื่น ไม่สำรวม
ขาดความยับยั้งชั่งใจ หงุดหงิดง่าย
ด้านพฤติกรรม
รู้สึกคึกคัก มีกำลังวังชา
ขยันกว่าปกติแต่ทำได้ไม่ดี
นอนน้อย พูดมาก พูดเร็ว
ด้านความคิด
มีความคิดสร้างสรรค์มากมาย
เชื่อมั่นในตนเองมาก
ไม่รับฟังผู้อื่น ความสนใจสั้น
ในรายที่รุนแรง อาจหลงผิดหรือประสาทหลอนได้
F40-F49 โรคประสาท อาการทางกายที่เกิดจากจิตใจและความเครียด
Anxiety
อาการ
กล้ามเนื้อตึงตัว
เหงื่ออก มือเท้าชา
ใจสั่น ความดันโลหิตสูง
วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด
หายใจเร็วหรือหายใจไม่ออก
ท้องเสีย ท้องไส้ปั่นป่วน ปัสสาวะบ่อย
DSM-IV Classification
Panic disorder without agoraphobia
Panic disorder with agoraphobia
Agoraphobia without history of Panic disorder
Specific phobia (Simple phobia)
Social phobia
Obsessive-compulsive disorder
Acute stress disorder
PTSD
GAD
F60-F69 ความผิดปกติของพฤติกรรมและบุคลิกภาพในผู้ใหญ่
Personality: บุคลิกภาพ
Personality disorder : DSM-IV
antisocial
histrionic
borderline
obsessive-compulsive
narcissistic
dependent
paranoid
avoidant
schizoid
passive-aggressive
schizotypal
depressive
F90-F99 ความผิดปกติทางจิตใจที่ไม่ได้ระบุรายละเอียด
Childhood or Adolescence
Attention-Deficit and Disruptive Behavior Disorders : ADHD โรคสมาธิสั้น
Feeding and Eating Disorders of Infancy or Early Childhood : ความผิดปกติในการกินi
Pica กินสิ่งที่ไม่ใช่อาหาร
rumination disorder : ขย้อนอาหาร
Tic Disorder : การกระตุกของกล้ามเนื้อ ขยับเคลื่อนไหวอย่างทันทีทันใด เร็ว ซ้ำๆไม่เป็นจังหวะ
Elimination Disorder
ปัสสาวะราด (Enuresis) : 5ปีขึ้นไป
ถ่ายอุจจาระเรี่ยราด (Encopresis): 4ปีขึ้นไป
F50-F59 กลุ่มอาการพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางสรีรวิทยาและปัจจัยทางร่างกาย
F70-F79 ภาวะปัญญาอ่อน
F80-F89 ความผิดปกติทางพฤติกรรมและอารมณ์ที่มักเริ่มต้นในวัยเด็กและวัยรุ่น
F50-F59 กลุุ่มอาการด้านพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางสรรวิทยาปละปัจจัยทางร่างกาย
F70-F79 ภาวะปัญญาอ่อน
F80-F89 ความผิดปกติของพัฒนาการทางจิตใจ
นางสาวลลิตา นาทิเลศ
ชั้นปีที่ 3 ห้อง 1เลขที่ 56
รหัส 591216812
นางสาวลลิตา นาทิเลศ
ชั้นปีที่ 3 ห้อง 1 เลขที่ 56
รหัส 591216812