Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริการยุคนีโอคลาสิก NEC - CLASSICAL THEORY (วิลเลี่ยม กูซี่…
ทฤษฎีการบริการยุคนีโอคลาสิก NEC - CLASSICAL THEORY
เอนติล เมโย
ผู้บริการทุกคนต้องสนใจความรู้สึกของผู้ทำงานด้วยจึงจะสำเร็จได้
จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน สามรถทำได้โดยต้องทุ่มเทสนใจปัญหา และความต้องการของมนุษย์ในส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน
ค่าตอบแทนเป็นเงินอย่างเดียวไม่ใช่สิ่งจูงใจจะทำใก้เกิดการยอมรับและทำงานตามวัตถุประสงค์
ปฏิบัติต่อบุคลกรโดยเข้าใจค่านิยม ความเชื่อ ความรู้สึก
Ex. ให้อืสระแก่บุคลกรมีสัมพัธภาพที่ดีต่อกัยระหว่างเพื่อนร่วมงาน
แมคเกรเกอร์ (เจ้าของทฤษฎี X and Y theory)
ทฤษฎีวาย
คนจะพร้อมให้คความร่วมมือสนับสนุน
คนมีความขยันหมั่นเพียร ความรับผิดชอบ
พยายามพัฒนาตนเองและวิธีการทำงานอยู่เสมอ
ทฤษฎีเอ็กซ์
คนส่วนใหญ่จะขี้เกียจ ไม่ชอบทำงาน ต้องถูกบังคับสั่งงานจึงจะทำงาน
มักไม่มีความพยายามและความรับผิดชอบ
ชอบให้มีการชี้นำเพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
วิลเลี่ยม กูซี่
วิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพ
ให้แนงคิดว่าการบริการจะให้ผลดีกว่า ถ้าให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการตัดสินใจบริหาร
ให้ความสำคัญกับกลุ่มไม่ใช่ตัวบุคคลแนวคิดทฤษฎี Z
ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยเพราะสภาพแวดล้อมเกิดช่องว่างระหว่างความสัมพันธ์
ผุ้ปฏิบัติงานต่างก็จะมีจิตสำนึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ ความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
ผู้ปฏิบัติงานมุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกันโดยอยุ่ในกรอบขององค์กร
ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจได้โดยทำงานไม่บกพร่องผุ้บริการเพียงแต่เอาใจใส่ ดูแลสวัสดิภาพและความเป้นอยู่ให้ดีเท่ากัน
เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่นแต่อเมริกาได้นำมาประยุกต์
เชสเตอร์ บาร์นาร์ด
มีแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรไว้ว่า องค์กรเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อจะทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จด้วยความร่วมแรงร่วมใจ
สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การติดต่อสื่อสารเพื่อความเข้าใจในวัตถุประสงค์สู่แนวทางการปฏิบัติด้วยการโน้มน้าวทางจิตใจ
เป็นบิดาแห่งบริการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
เฟรเดริด เอ็ซ์เบิร์ก
ปัจจัยค้ำจุน ก่อให้เกิดความพอใจในการทำงาน แต่ไม่พอที่จะนำไปใช้ในการชักจูง (ปัจจัยภายนอก)
แรงจูงใจ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทำงานอย่างมีความสุขและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (ปัจจัยภายใน)
ปัจจุบันผู้บริการนำมาใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังให้แก่ลูกน้องใต้บังคับบัญชา
มาสโลว์
ความต้องการของมนุษย์ตามลำดับขั้นจากต่ำไปสูง
ความต้องการทางด้านความสมหวังในชีวิต
ความต้องการทางด้านการยกย่อง
ความต้องการทางด้านสังคม
ความต้องการทางด้านความปลอดภัย
ความต้องการทางด้านร่างกาย
นักจิตวิทยาที่ค้นเรื่องลำดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ มนุษย์มีความต้องการอยู่ตลอดเวลาไม่สิ้นสุด
เน้นการบริการแบบใหม่กว่าเดิมเป็นลักษณะและผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในองค์กร โดยใช้พฤติกรรมศาสตร์ (แนวมนุษย์สัมพันธ์)