Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์ (Bipolar Disorder (มีอาการ Manic…
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Depressive Disorder
Major Depressive Disorders (MDD)
ลักษณะเด่น : ซึมเศร้า เบื่อหน่าย หมดความสนใจกับสิ่งรอบตัว ไม่มีสมาธิ รู้สึกไร้ค่า อยากตาย อย่างน้อย 2 สัปดาห์ร่วมกับเบื่ออาหาร นอนไม่หลับ หรือหลับมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
มีอาาร 5 อย่างขึ้นไปติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์และมีอาการนี้อย่างน้อย 1 อย่าง ได้แก่ เศร้า หรือ หมดความสนใจความสุขในกิจกรรม
อารมณ์เศร้า ในเด็ก/วัยรุ่นอาจหงุดหงิด
หมดความสุขความสนใจในกิจกรรม
นอนไม่หลับหรือมากกว่าปกติ
เชื่องช้า
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
รู้สึกไร้ค่าหรือผิดมากกว่าปกติ
อารมณ์เสีย
อยากตาย
อาการไม่เข้าเกณฑ์อาการแบบผสม
อาการทำให้ทุกข์ใจ
ไม่ได้เกิดจากโรคทางกายหรือยา
ไม่ใช่อาการเศร้าเสียใจธรรมดา
กลไกทางจิต
Repression: เก็บกด ไม่พูด
Introjection: โทษตัวเอง
การรักษา
ประเมินความรุนแรง
Mild: เบื่อหน่ายเล็กน้อย หดหู่ เศร้า แต่ยังสามารถดำเนินชีวิตได้
Moderate: ซึม พูดน้อยลง คิดช้า วิตกกังวล ร่างกายอ่อนแอลง กระทบชีวิตประจำวัน
Severe: สนใจสิ่งแวดล้อมลดลง Agitate ใช้ชีวิตประจำวันไม่ได้ ประสาทหลอน ทำร้ายตนเอง
ระยะการรักษา
Acute: ใช้ยา รักษาด้านจิตใจและสังคม 6-8 wk
Continuation: ป้องกันการเป็นซ้ำ ให้ยาเดิม F/U 16-20 wk
Maintain: ป้องกันการเป็นซ้ำ
Discontinuation: หยุดยาโดยค่อยๆลดลง ถ้าผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำให้เริ่มรักษาใหม่
การพยาบาล
Risk for Suicide
อดทน รับฟัง
ประเมินสาเหตุ
ประเมินระดับ
ประเมินอาการ
ให้กำลังใจ ฝึกการคิดบวก
จัดให้ใกล้เคาน์เตอร์พยาบาล
ยา
เข้ากลุ่มแบบประคับประคอง
ให้คำแนะนำแก่ญาติ
Hopelessness
ประเมินสาเหตุ
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ประเมินสิ่งยึดเหนี่ยว
ให้กำลังใจ ฝึกคิดบวก
Cognitive Behavior Theraoy
กระบวนการคิดแปรปวรเนื่องจากอารมณ์เศร้า
ความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากรู้สึกไร้ค่า
การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากสนใจทำกิจวัตรประจำวันลดลง
แบบแผนการนอนแปรปวนเนื่องจากอารมณ์เศร้า
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากรู้สึกไร้ค่าและหมดหวัง
ได้รับสารอาหารไม่พอเนื่องจากเบื่ออาหาร
Dysthymic Disorder = Moderate Depression เรื้อรัง
การวินิจฉัย
มีอารมณ์เศร้าเกือบทั้งวัน(หงุดหงิดในเด็กและวัยรุ่น)และมีวันเศร้ามากกว่าใน2ปี(1ปีในเด็กและวัยรุ่น)ในวันเศร้าต้องมีอาการนี้อย่างน้อย2อาการ
เบื่ออาหารหรือกินจุ
นอนไม่หลับหรือหลับมาก
อ่อนเพลีย รู้สึกไร้ค่า
ไม่มีสมาธิ ตัดสินใจไม่ได้
สิ้นหวัง
วันไม่เศร้าไม่เกิน 30 วันติดกัน
ไม่เคยมีความผิดปกติ
Mania Episode
Mixed Episode
Hypomanic Episode
Cyclothymia Disorder
อาการ
ทางความคิด
เบื่อหน่าย ท้อแท้ ความภูมิใจในตนเองต่ำ ไม่สนุก หงุดหงิด โกรธง่าย
ทางอารมณ์
คิดช้า คิดซ้ำ คิดไม่ดี ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ทางร่างกาย
เบื่ออาหารหรือทานมาก นอนไม่หลับหรือหลับมาก อ่อนเพลีย สดชื่นตอนเช้าหงอยช่วงบ่าย ผู้หญิงประจำเดือนขาด
ทางพฤคิกรรม
เหนื่อยเรื้อรัง อ่อนเพลีย เชื่อว่าตนเองป่วยทางกาย พยายามจะไปหาหมอ
Bipolar Disorder
มีอาการ Manic Episode หรือ Hypomanic episode สลับกับ Depressive Episode
Manic+Depressive= Bipolar I
Hypomanic+Depressive= Bipolar II
Cyclothymic=4 Episode/year=Chronic
Manic Episode
อาการ
Emotion
มีควาสมุขมาก
คึก
สนุกสนานเกินจริง
Cognitive
Flight of Idea
คิดว่าตนเองรวย
Behavioral
Active
Talkative
การวินิจฉัย
ในผู้ใหญ่ เริงร่ามากกว่า1wk + อาการนี้อย่างน้อย 3
ในเด็กและวัยรุ่น แปรปวน + อาการนี้อย่าง 4
โอ้อวด หลงตัวเอง (Inflated Self-Esteem/Grandiosity)
นอนน้อย (Decreased Need of Sleep)
พูดมาก (Pressured of Speed)
Flight of Idea
ถูกหันเหได้ง่าย (Distractibility)
ทำกิจกรรมมากขึ้น
อยู่ไม่นิ่ง
Hypomanic Episode
อาการ
Emotional
อารมณ์ดี อารมณ์เปลี่ยนแปลง
Cognitive
คิดว่าตนเองยิ่งใหญ่ ถูกกระตุ้นได้ง่าย
Behavioral
พูดมาก หื่น ใช้เงินเปลือง
การวินิจฉัย
อารมณ์แปรเปลี่ยนอย่างน้อย 4 วันไม่ใช่ผลจากยา มีอาการนี้อย่างน้อย 3 อาการ
โอ้อวด หลงตัวเอง (Inflated Self-Esteem/Grandiosity)
นอนน้อย (Decreased Need of Sleep)
พูดมาก (Pressured of Speed)
Flight of Idea
ถูกหันเหได้ง่าย (Distractibility)
ทำกิจกรรมมากขึ้น
อยู่ไม่นิ่ง
Depressive Episode
อาการ
ร้องไห้ คร่ำครวญ วิตกกังวล บ่นเรื่องความเจ็บป่วย
การวินิจฉัย
เศ้ราครั้งแรกหรืออาการแย่ลงติดต่อกัน 2 wk กระทบชีวิต มีอาการนี้อย่างน้อย 4
เศร้าทั้งวัน
ความสนใจความสนุกลดลง
น้ำหนักตัวเปลี่ยน(ขึ้นหรือลง) 5%ใน1เดือน
เบื่ออาหารหรือกินจุ
นอนไม่หลับหรือนอนมาก
อ่อนเพลีย
รู้สึกผิด Guilt
สมาธิลดลง
มีความคิดเกี่ยวกับความตาย กลัวตาย อยากตาย
อาการไม่ได้เกิดจากยา
การรักษา
Admit
Litium
Psychotherapy
การพยาบาล
Low Self-esteem
ประเมินการรับรู้
ฝึกคิดบวก
เสริมแรงทางบวกตามจริง
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
ยาและดูแลผลข้างเคียงของยา
Ineffective individual coping
ประเมินความเครียด สาเหตุ
กระตุ้นให้มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
เปิดโอกาสให้ระบาย
ช่วยดูแลกิจวัตรประจำวัน