Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว กับการบริหาร (ต่อ) ๅๅ (1)…
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว
กับการบริหาร (ต่อ)
วิวัฒนาการและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร
ก.ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม (classical Theory)
1.ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
1.2 เฮนรี่ แก๊นต์ (Henry L Gantt) เอาเทคนิคการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานงานมาใช้ เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน
ผลงาน Gantt chart อย่างแพร่หลาย
1.3แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบรค (Frank Bunker Gillbreth) ได้ศึกษาความเคลื่อนไหว ความเบื่อหน่ายและผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคนงาน
1.1เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์ (Fredeพick winslowtaylor)
บิดาแห่งการบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าปัญหาที่คนทำงานไม่เต็มศักยภาพ สามารถแก้ไขได้ด้วยการออกแบบงานและการจัดสิ่งจูงใจใหม่ๆ
มีการกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด
(One Best Way) ปัจจุบันเรียก
time and motion study
1.4ลิเลียน กิลเบรธ (Lilian Gillbreth) ช่วยส่งเสริมงานด้าน
Motion Studies
ให้ดีขึ้น ปี1915ทั้งคู่ร่วมกันศึกษาการบริหารโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรม
2.ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (administrative management)
2.1เฮ็นรี่ ฟาโยล (Henry Fayol)
เป็นผู้บุกเบิกแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร ได้ระบุหน้าที่พื้นฐานหรือกระบวนการบริหารที่ผู้บริหารต้องปฏิบัติไว้ 5ประการ (POCCC)
-การวางแผน(Planning)
-การจัดการองค์การ(Organizing)
-การบังคับบัญชาและสั่งการ(Commanding)
-การประสานงาน (Coordinating)
-การควบคุม(Controlling)
หลักการบริหาร 14 ประการที่จะทำให้ผู้บริหารประสบความสำเร็จได้
2.อำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชาควบคู่กับความรับผิดชอบ
1.หลักการแบ่งงานการทำ
3.ระเบียบวินีย
4.เอกภาพในการบังคับบัญชา
5.เอกภาพในทิศทาง
6.หลักผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นรองผลประโยชน์ขององค์กรหลัก
7.ความยุติธรรมต่อนายจ้างลูกจ้าง
8.หลักการรวมศูนย์อำนาจ
9.หลักการมีสายบังคับบัญชา
10.ระเบียนแบบแผน
11.ความเสมอภาคและความยุติธรรม
12.ความมั่นคงในการทำงาน
13.ความริเริ่มสร้างสรรค์
14.ความสามัคคีและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3.ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
เป็นทฤษฎีที่ใช้ในระบบราชการตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
แมกซ์ วีเบอร์
(Max Weber)
เสนอแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การ เน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญ สนใจวิจัยเกี่ยวกับภารกิจ การใช้อำนาจสังคมทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมือง จากวิจัยสามารถสร้างแนวทางการบริหารแบบระบบราชการ 7ประการดังนี้
4.บุคลากรต่างทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ
3.มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับกฎเกณฑ์ต่างๆ
5.การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
2.การจัดระบบตำแหน่งหน้าที่ตามสายบังคับบัญชาระดับสูงมายังระดับต่ำ
6.มีความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ อาชีพมั่นคง
1.มีการแบ่งงานการทำตามความรู้ความชำนาญ
7.มีอำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง