Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การบริหาร (ต่อ) ๅๅ (1) (ค…
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การบริหาร (ต่อ)
ข ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสลิก (NEO-Classical Theory)
เน้นลักษณะและผลกระทบต่อพฤติกรรมของคน
ในองค์การโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์
1.เอลตัน เมโย (Elton Mayo)
-นักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
-เป็นบิดามนุษยสัมพันธ์
-ผลงานที่สร้างชื่อเสียงเรียกว่า
การทดลองฮอร์ธอร์น
ปีค.ศ.1927-1932
-ทดลองเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนทำงาน พบว่า ผลผลิตจะเพิ่มสูงขึ้น สำคัญอยู่ที่ปัจจัยด้านจิตวิทยาและปัจจัยทางสังคมของผู้ทำงานไม่น้อยไปกว่าปัจจัยด้านตัวเงิน
-วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานต้อง สนใจปัญหาและความต้องการของคนทำงาน
2.แมคเกรเกอร์ (Douglas McGregor)
-นักจิตวิทยาและเป็นศาสตราจารย์ทางการบริหารชาวอเมริกัน
-เขียนผลงาน คือ
The Human Side of Enterprise
เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของคน คือ ทฤษฎี X และทฤษฎี Yปี ค.ศ. 1982
3.วิลเลี่ยม กูซี่ (William G. Quchi) เป็นแนวคิดของญี่ปุ่น แต่อเมริกาได้นำมาประยุกต์เป็นรูปแบบวิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพ พฤติกรรมการบริหารการพยาบาลตามทฤษฎีนี้ มีความหมายตรงกับคำว่า
management by objective
MBO
แนวคิดของทฤษฎีแซดเชื่อว่า
1.ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกัน โดยอยู่ในกรอบของปรัชญาองค์การที่ระบุไว้
2.ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกัน
3.ผู้ปฏิบัติงานต่างก็มีจิตสำนึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ
4.ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจโดยทำงานไม่บกพร่อง ผู้บริหารเพียงแต่เอาใจใส่ ดูแลสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเท่านั้น
4.เซสเตอร์ บาร์นาร์ด (Chester l. Barnard.1938)
เ
ป็นบิดาแห่งการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
ได้เขียนหนังสือหน้าที่ของนักบริหาร มีแนวคิดเกี่ยวกับองค์การไว้ว่า องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อจะทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จด้วยความร่วมมือร่วมใจ สิ่งสำคัญคือการติดต่อสื่อสาร
5.อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) เป็นนักจิตวิทยาที่ค้นเรื่องลำดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ปีค.ศ.1985 มนุษย์มีความต้องการอยู่ตลอดเวลาและไม่สิ้นสุด ความต้องการของมนุษย์จะเป็นตามลำดับขั้นจากต่ำไปสูง
1.ความต้องการทางด้านร่างกาย 2.ความต้องการทางด้านความปลอดภัย 3.ความต้องการทางด้านสังคม 4.ความต้องการทางด้านการยกย่อง 5.ความต้องการทางด้านความสมหวังในชีวิต
6.เฟรเดริค เฮิร์ซเบิร์ก (Frederick Herzberg) ให้ความสำคัญกับความต้องการของมนุษย์ แบ่งปัจจัยเป็น 2 ปัจจัย
1.แรงจูงใจ ถือเป็นปัจจัยภานใน (Intrinsic)
2.ปัจจัยค้ำจูน (Hygiene Factors)เป็นปัจจัยภายนอก (Extrinsic)
ค ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่
(Modern theory)
1.ทฤษฎีระบบ (System theory)
บิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป (General system Theory) คือ
Bertalanffy
โลกประกอบด้วยระบบต่างๆมีลำดับชั้น จากระบบเฉพาะเจาะจงไปสู่ระบบที่มีลักษณะทั่วไป องค์การแบ่งเป็นระบบปิด คือระบบที่พึ่งตนเองได้ ระบบเปิด คือ ระบบที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด
องค์ประกอบของทฤษฎีระบบ
(System theory)
1.ปัจจัยนำเข้า
2.กระบวนการแปรสภาพ
3.ผลผลิต
4.ข้อมูลย้อนกลับ
5.สิ่งแวดล้อม
2.ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory)
2.วรูม และเยตัน (Victor Vroom, Phillip Yetton and Jago)
เสนอทฤษฎีผู้นำเชิงสถานการณ์ หลักสำคัญ คือเน้นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำโดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
1.ฟีดเลอร์ พัฒนารูปแบบจำลอง "ความเป็นผู้นำตามสถานการณ์" ได้เสนอแนวคิดผู้นำเชิงสถานการณ์โดยเสนอว่าประสิทธผลของผู้นำอยู่กับความเหมาะสมระหว่างรูปแบบผู้นำและสถานการณ์ ใช้เครื่องมือ Least Preferred CO-Worke : LPC) เชื่อว่ารูปแบบผู้นำไม่เปลี่ยน
ต้องมีการเปลี่ยนสถานการณ์ให้เข้ากับรูปแบบผู้นำ
3.โรเบิร์ต เฮาส์ (Robert House)
เสนอแนวคิดผู้นำเชิงสถานการณ์ ทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมายทฤษฎีนี้กล่าวได้ว่าใช้แรงจูงใจเป็นแรงผลักดันให้สู่เป้าหมายทั้งส่วนบุคคลและองค์การ
4.เฮร์เซย์และแบลนชาร์ด (Hersey and Blanchard)
ทฤษฎี วงจรชีวิต เสนอทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์แบ่งระดับความพร้อมของผู้ตาม 4 ระดับ
R1 ไม่มีความสามารถ ไม่มีความเต็มใจที่จะทำ ความพร้อมต่ำ
R2 ไม่มีความสามารถ เต็มใจจะทำ ความพร้อมปานกลาง
R3 มีความสมารถ ไม่เต็มใจจะทำ ความพร้อมปานกลาง
R4 มีความสามาถ เต็มใจจะทำ ความพร้อมสูง
4.ทฤษฎี 7 S
เป็นแนวคิดแบบจำลองของแมคคินซีย์ (Mc Kinsey)
Soft Ss เป็นส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จ
ทักษะ ความสามารถเด่นของผู้บริหาร
4.ค่านิยมร่วมหรือเป้าหมายสูงสุด
2.บุคลากร
1.แบบการบริหาร ผู้บริหารรู้งาน+ทำงานอย่างจริงจัง
Hard Ss เป็นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จ
2.กลยุทธ์ แผนกำหนดวิธีการ
1.โครงสร้าง การจัดระเบียบองค์การที่เหมาะสม
3.ระบบที่ดีเน้นการปฏิบัติ องค์การระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ได้แก่ ระบบวางแผน ระบบรายงาน การประเมินผล
5.การบริหารคุณภาพทั้งองค์การ
( T.Q.M. = total quality managent)
เป็นแนวคิดการบริหารที่ยึดคุณภาพเป็นหัวใจของทุกเรื่อง เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพชนะการแข่งขัน
3.ทฤษฎีการบริหารเชิงปริมาณ (Quantitative theory) เป็นทฤษฎีบริหารจัดการ นำเทคนิคคณิตศาสตร์และวิธีการสถิติช่วยแก้ไขปัญหา
แนวคิดที่สำคัญ
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (management information system MIS)
เน้นการออกแบบและการนำเอาระบบข้อมูลสารสนเทศ โดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการบริหาร
3.การจัดการการปฏิบัติการ (Operations management)
เป็นทฤษฎีสมัยใหม่พัฒนามาจากทฤษฎีการจัดการ เน้นการใช้แนวทางเชิงปริมาณเข้าช่วยในการตัดสินใจ การบริการการพยาบาลที่ใช้บ่อย คือ การวิเคราห์รายการ
1.การบริหารศาสตร์ (management science) เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหาร ในการบริหารการพยาบาลใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติงาน
8.องค์การยุคหลังสมัยใหม่
(Post Modern Organization)
8.2การจัดการองค์กรแบบแซมรอค (Shamrock Organization แบ่งกลุ่มงานภายในองค์การ 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 2.กลุ่มผู้ปฏิบัติงานจากภายนอก 3.กลุ่มพนักงาน
8.3 5s Model ปฏิบัติงานด้วยวิธีที่ดีที่สุด ซึ่งตัวแบบ 5s ประกอบด้วย SMLL จิ๋วแต่แจ๋ว มีขนาดเล็กลงแต่คุณภาพมากขึ้น SMILE ฉลาดทรงภูมิปัญญา เฉลียวฉลาด แปลกใหม่ มีนวัตกรรม SMILE ยิ้มแย้ม เปี่ยมน้ำใจ SMOOTH ความร่วมมือไร้ความขัดแย้ง SIMPLIFT ทำเรื่องยากให้ง่ายและรวดเร็ว
8.1ทฤษฎ๊ไร้ระบบ Chaos theory
เป็นทฤษฎีฟิสิกส์ศึกษากฏเกณฑ์และคุณสมบัติของปรากฎการณ์ทางวัตถุ เป็นทฤษฎีทั่วไปทางสัวคม
ลัทธิไร้ระเบียบ
เชื่อว่า สรรพสิ่งบนโลกมีเกิด มีดับ เริ่มจากความระเบียบก้าวไปสู่ความไร้ระเบียบในที่สุด หมุนเวียนเช่นนี้
8.4องค์การเสมือนจริง (Virtual Organization)
มีหลักที่สำคัญ 7 ประการ คือ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม สังคมกับชุมชนเครือข่ายมีการร่วมมือและพึ่งพากัน มีความยืดหยุ่น มีความไว้วางใจ การบริหารตนเองขอบเขตขององค์การไม่ชัดเจน ไม่มีสถานที่ตั้งองค์การ
7.องค์การสมัยใหม่
(Modern Organization)
7.1องค์การแห่งการเรียนรู้ เซ็งกี้ องค์การเรียนรู้เร็วกว่าคู่แข็งในการเปลีี่ยนแปลงและก่อนที่จะถูกแรงกดดันให้เปลี่ยนแปลง Peter M. Senge แนะนำองค์การต้องสร้างนิสัย 5 ประการ คือ 1.บุคลากรที่มีความรู้ 2. รูปแบบความคิด 3. วิสัยทัศน์ร่วม 4. การเรียนรู้เป็นทีม 5. ความคืดเป็นระบบ
7.2องค์การสมรรถะสูง เป็นองค์การนวัตกรรม มีคุณลักษณะที่สำคัญคือ
1.การตั้งเป็าหมายที่ท้าทายและแสวงหาแนวทางในการบรรลุเป้าหมาย
2.การมีค่านิยมร่วมกันของบุคลากรทั่วทั้งองค์การ
3.การมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์และการทำให้ทั่วทะ้งองค์การดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน
6.การรื้อปรับระบบ (reengineering)
คือการสร้างกระบวนการทำงานขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ประสบการณ์ ตลอดจนวิทยาการต่างๆ
หลักสำคัญ คือ เน้นความสำคัญของผู้รับบริการเป็นหลัก การบริการต้องมีคุณภาพ ค่าใช้จ่ายถูก รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน ให้ความสำคัญต่อกระบวนการทำงาน