Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ …
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การสร้างเว็บเพจ
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วัตถุประสงค์การวิจัย
. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การสร้างเว็บเพจ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เพื่อศึกษาความพึงพอใจจากการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การสร้างเว็บเพจสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
เครื่องมือ
ในการวิจัย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แบบประเมินความพึงพอใจจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการสร้างเว็บเพจ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ
ซึ่งเป็นแบบปรนัยแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ
วิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
การหาประสิทธิภาพ
ของบทเรียนคอมพิวเตอร์
1.อธิบายวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน
3.เมื่อเรียนจบบทเรียนทั้งหมดให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4.นำาหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างเว็บเพจโดย E1/ E2
2.ให้นักเรียน เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปที่ละเรื่องในระยะเวลาสัปดาห์ละ 2 คาบ เป็นเวลา 6 สัปดาห์ รวม 12 ชั่วโมง เมื่อนักเรียนเรียนจบแต่ละบทเสร็จแล้วให้ทำแบบฝึกหัดหลังเรียนในแต่ละบท
การหาคุณภาพแบบทดสอบ
โดยนำไปทดสอบกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน โดยการทดสอบหาค่าความยากง่าย (p) และอำนาจจำแนก (r) หาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สูตร KR-20 คูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardsan) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 ซึ่งผลการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) ได้ค่าความยากง่ายเท่ากับ 0.53 และอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบเท่า 0.72 ที่มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป มาใช้จำนวน 40 ข้อ หาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สูตร KR-20 คูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardsan) (บุญชมศรีสะอาด, 2538) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
แบบแผน
การวิจัย
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโดยใช้สถิติ
t-test Dependent
การทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียน
สรุปผล
ที่ได้จากการวิจัย
1.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 81.77/ 81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว็บเพจ พบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนโดยรวม อยู่ในระดับมาก ( X = 4.41, S.D. = 0.55)