Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ทฤษฎีการบริหาร (ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม…
บทที่ 1
ทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม
ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
(ใช้วิธีตั้งปัญหาและหาแนวทางไปสู่เป้าหมาย)
เฮนรี่ แก๊นต์
เทคนิคการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้ เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยควบคุมการจัดงานที่ดี
แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบรธ
ทำการศึกษาความเคลื่อนไหว ความเบื่อหน่าย และผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคน ทำให้เห็นว่าความเคลื่อนไหวที่สูญเปล่า ไม่มีผลการผลิต สรุปให้เห็นว่า การทำงานด้วยการแบ่งงานออกตามความชำนาญ แบ่งเป็นส่วนๆ จะทำได้ดียิ่งขึ้น
เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์
เชื่อว่าปัญหาที่คนทำงานไม่เต็มศักยภาพ สามารถแก้ไขได้ด้วยการออกแบบงาน สิ่งจูงใจใหม่ๆ
มีการวางแผนแทนที่จะให้คนงานเลือกวิธีเอ
คัดเลือกคนที่มีความสามารถ แล้วอบรม
กาทำงานแบบลองผิดลองถูก
ใช้หลักแบ่งงานกันทำระหว่างผู้บริหารและคนงาน
ลิเลียน กิลเบรธ
ศึกษาปริญญาเอกด้านจิตวิทยา ซึ่งเป็นศาสต์ที่ช่วยส่งเสริมงานด้าน Motion Studies ให้ดียิ่งขึ้น
ทฤษฎีกาจัดการเชิงบริหาร
เฮ็นรี่่่่ ฟาโยล
กระบวนการบิหารที่ผู้บริหารต้องปฏิบัติ 5 ประการ (POCCC)
บังคับบัญชาและสั่งการ เข้าใจ คน+งาน : Commading
ประสานงาน+เชื่อมโยง = จุดมุ่งหมายเดียวกัน : Coordinating
การจัดการองค์กร/กำหนดหน้าที่ ความับผิดชอบ :Organizing
ควบคุม ติดตาม ดูแล+กำกับ : Controlling
วางแผน คาดการณ์ล่วงหน้า : Planning
หลักบริหาร 14 ประการ
ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาคนเดียว
ต้องบรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน
ระเบียบวินัย
ประโยชน์องค์กรเป็นหลัก
อำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชา+รับผิดชอบ
ยุติธรรมลูกจ้าง นายจ้าง
แบ่งงานกันทำตามความถนัด
หลักบริหาร 14 ประการ
มั่นคงในการทำงาน
ริเริ่มสร้างสรรค์
เสมอภาค
มีแบบแผน
บังคับบัญชาจากสูงไปต่ำ
สามัคคี
ผู้บริหารมีอำนาจตัดสินใจ
ลูเทอร์ กูลิค/ลินดอลล์ เออร์วิค
สรุปผลการทำงานทั้งหมด : Reporting
สรุปงบประมาณ : Budgeting
POSDCoRB เพิ่มเป็น 7 ข้อ
ระบบราชการ
แมกซ์ วีเบอร์
เน้นเหตุผลเป็นสำคัญ
บุคคลไม่กล้าริเริ่มสร้างสรค์: ข้อเสีย
ประเมินผลปฏิบัติง่าย : ข้อดี
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลสลิก
แมคเกรเกอร์
เจ้าของทฤษฎ๊เอ็กซ์และวาย
ทฤษฎ๊เอกซ์ :star:/ทฤษฎ๊วาย :red_flag:
:star:คนส่วนใหญ่ขี้เกียจ ไม่ชอบทำงาน :red_flag:พื้นฐานคนมีความพร้อมที่จะร่วมมือ สนับสนุน
:star:ถูกบังคับ ควบคุม สั่งการ จึงจะทำงาน :red_flag:คนทั่วไปมีความขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ
:star:คนส่วนใหญ่มักไม่มีความพยายาม :red_flag:มีความคิดริเริ่มด้วยตนเอง ถ้าำด้รับแรงจูงใจ
:star:คนส่วนใหญ่มีการชี้นำ เพื่อหลีกเลี่ยงความผิด :red_flag:คนทั่วไปพื้นฐานจะพยายามพัฒนาตนเองและวิธีการทำงานอยู่เสมอ
เอลตัน เมโย
เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ สามารถทำได้โดยทุ่มเท สนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์
วิลเลี่ยม กูซี่
ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกัน
ผู้ปฏิบัติงานต่างมีจิตสำนึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ
ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ่งแสวงหาความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกัน
ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจได้