Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร (ทฤษฎีบริหารยุคนีโอคลาสสิก (Elton…
วิวัฒนาการและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์
Frederick Taylor
บิดาของทฤษฎีบริหารกลุ่มคลาสสิก
ความมุ่งหมายสูงสุดของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จัดการบริหารให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
คนงานแต่ละคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์การได้
“The one best way” คือประสิทธิภาพของการทำงานสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับสิ่งสำคัญ 3 อย่าง
เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด (Selection)
ฝึกอบบรมคนงานให้ถูกวิธี (Training)
หาสิ่งจูงใจให้เกิดกำลังใจในการทำงาน (Motivation)
สรุปหลักวิทยาศาสตร์ของ เทย์เลอร์
การแบ่งงาน (Division of Labors)
การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน (Hierarchy)
การจ่ายค่าจ้างเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Incentive payment)
Henry L. Gantt
แนวคิดที่สำคัญ
การจูงใจคนงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน โดยใช้ระบบโบนัส (Bonus System)
การพัฒนา Gantt Chart เพื่อใช้ในการกำหนดแผนและการควบคุมการปฏิบัติงาน
Gantt’s Milestone Chart
แผนภูมิแสดงความก้าวหน้า ความสำเร็จของงาน
มีการกำหนดกิจกรรมของงานให้ละเอียด เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามตรวจสอบ
Gantt Chart
มีประโยชน์เฉพาะด้านการรักษากำหนดเวลา
แต่ไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานชัดเจน
เห็นรายละเอียดว่าโครงการนี้มีงานย่อยๆอะไรบ้าง และแต่ละงานใช้เวลาเท่าไหร่ งานไหนมาก่อนมาหลัง
ในการวางแผนระยะเวลาที่ใช้ของงานแต่ละงานของโครงการ
หลักการทฤษฎี ของ Henry L Gantt
การบำรุงรักษาองค์ประกอบมนุษย์ ถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดในการจัดการ
เน้นถึงความร่วมมืออย่างกลมกลืนในระหว่างฝ่ายแรงงานและฝ่ายบริหาร
พัฒนาวิธีการใช้กราฟแสดงถึงแผนงานและงานที่จะต้องทำทั้งหมด (The Gantt Chart)
เน้นความสำคัญในเรื่องของเวลา และต้นทุนในการวางแผน และการควบคุม
Frank Bunker Gilbreth & Lillian M. Gilbreth
เชื่อว่าวิธีการทำงานที่ดีที่สุดมีวิธีเดียว
การทำงานด้วยการแบ่งงานออกตามความชำนาญเฉพาะด้านและแบ่งงานเป็นส่วนๆ(division of work)
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
Henry Fayol
เกิดแนวคิดว่าการบริหารงานขององค์การจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
มีองค์ประกอบ 5 ประการ POCCC
การบังคับบัญชา(Commanding)
การประสานงาน (Coordinating)
การจัดองค์การ (Organizing)
การควบคุมงาน (Controlling)
การวางแผน (Planning)
กรอบแนวคิดเกี่ยวกับหลักการ
(principle) บริหาร 14 ประการ
การแบ่งงานกันทำ (division of work)
การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ (authority andresponsibility)
ความมีวินัย (discipline)
เอกภาพในการบังคับบัญชา (unity of command)
มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน (unity of direction)
ผลประโยชน์จากการปฏิบัติงาน (subordinate of individual interest to general interest)
ค่าตอบแทน (remuneration)
การรวมอำนาจ(centralization)
การกำหนดสายการบังคับบัญชา (scalar chain)
ความเป็นระเบียบ (order)
ความคิดริเริ่ม (initiative)
ความเสมอภาค (equity)
ความสามัคคี (esprit decorps)
ความมั่นคงในอาชีพ (stability of tenure of personnel)
“บิดาแห่งทฤษฏีบริหาร” (Father of Administration Theory)
Luther Gulick & Lyndall Urwick
มีองค์ประกอบ 7 ประการ POSDCoRB
การบังคับบัญชา(Commanding)
การประสานงาน (Coordinating)
การจัดองค์การ (Organizing)
การควบคุมงาน (Controlling)
การวางแผน (Planning)
เพิ่มกระบวนการบริหารของ Fayol
ทฤษฎีระบบราชการ
Max Weber
มุ่งหวังให้องค์การดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยยึดหลักการบริหารที่อาศัยความมีเหตุมีผล
มีการแบ่งงานกันทำตามหน้าที่และความชำนาญเฉพาะ(division of work)
มีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน (hierarchy)
มีการระบุตำแหน่งหน้าที่ที่ชัดเจน (position and authority)
การปฏิบัติยึดถือกฎเกณฑ์และระเบียบโดยเคร่งครัด (rule and regulation)
มีระบบการคัดเลือกบุคคล และการเลื่อนตำแหน่งโดยอาศัยการแข่งขันความสามารถ (selection and promotion based oncompetition and ability)
ระบบความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การเป็นแบบทางการ(formal relationship)
ใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหา (rationality)
มีข้อผูกมัดระยะยาวในอาชีพ (lifelong career commitment)
ข้อเสีย
สายบังคับบัญชายืดยาวการทำงานต้องอ้างอิงกฎระเบียบ จึงชักช้าไม่ทันการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน เรียกว่า ระบบ “Red tape”
ข้อดี
ยึดประโยชน์สาธารณะเป็นหลัก
การบังคับบัญชา การเลื่อนขั้นตำแหน่งที่มีระบบระเบียบ
ทฤษฎีบริหารยุคนีโอคลาสสิก
Elton Mayo
สิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของคนงาน
มีการค้นพบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็นทางการในองค์การ ทำให้เกิดแนวความคิดใหม่ที่ว่า ความสัมพันธ์ของมนุษย์ มีความสำคัญมาก
คนเป็นสิ่งมีชีวิต จิตใจ ขวัญ กำลังใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่องสำคัญในการทำงาน
เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจที่สำคัญแต่เพียงอย่างเดียว รางวัลทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทำงานไม่น้อยกว่าเงิน
การทำงานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางสังคมมากกว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพคับที่อยู่ได้คับใจอยู่อยาก
Douglas MC Gregor
เสนอแนวคิดการบริหารอยู่บนพื้นฐานของข้อสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ต่างกัน
ทฤษฎี X(The Traditional View of Direction and Control)
เกิดข้อสมติฐาน
คนไม่อยากทำงาน และหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริเริ่ม ชอบให้การสั่ง
คนเห็นแก่ตนเองมากกว่าองค์การ
คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
คนมักโง่ และหลอกง่าย
การบริหารจัดการจึงเน้นการใช้เงิน วัตถุ เป็นเครื่องล่อใจ เน้นการควบคุม การสั่งการ
ทฤษฎี Y(The integration of Individual and Organization Goal)
เกิดข้อสมติฐาน
คนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุน รับผิดชอบ ขยัน
คนมีความคิดริเริ่มทำงานถ้าได้รับการจูงใจอย่างถูกต้อง
คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้
คนมักจะพัฒนาวิธีการทำงาน และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
ส่งเสริมให้รู้จักควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากขึ้น ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกันจากความเชื่อที่แตกต่างกัน
กฎแห่งเกมส์
กฎหมายและระเบียบที่ออกสอดคล้องกับการบริการตามทฤษฎีเอ็กซ์
Abraham Maslow
จัดอันดับขั้นของความต้องการของมนุษย์(Maslow – Hierarchy of needs)
5.ความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพที่แท้จริงและพัฒนาศักยภาพของตน
1.ความต้องการทางสรีระ
4.ความต้องการที่จะรู้สึกว่าตนเองมีค่า
3.ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ
2.ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
William G. Ouchi
ทฤษฎีของ Z ของ Ouchi (Ouchi’s Theory Z)
ทฤษฎีอธิบายโครงสร้างตามการจัดการผสมผสานระหว่างการบริหารแบบสหรัฐอเมริกาหรือ Theory A กับการบริหารแบบญี่ปุ่น หรือ Theory J
ทฤษฎี Z เป็นแนวความคิดการจัดการประสมประสาน ระหว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาโดยเน้นการจ้างงานระยะยาวมีการตัดสินใจและความรับผิดชอบร่วมกัน
คุณลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี Z
ระยะเวลาจ้างงานเป็นไปตลอดชีวิต
งานอาชีพต้องให้เรียนรู้หลาย ๆ ด้าน
การเลื่อนตำแหน่งไม่จำเป็นรอระยะเวลา 10 ปี
การประเมินประสิทธิภาพของการทำงานเป็นการทำงานเป็นทีม
การตัดสินใจ มีการกระจายอำนาจและรวมอำนาจตามสถานการณ์
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การมีเสรีภาพเท่าเทียมกัน มีอิสระในความคิดของตนเอง
การบริหาร ใช้ระบบ M.B.O. แบบมีส่วนร่วม
Chester I Barnard
ให้ความสำคัญต่อบุคคลระบบของความ ร่วมมือองค์การ และเป้าหมายขององค์การ กับความต้องการของบุคคลในองค์การต้องสมดุลกัน
ทฤษฎีการบริการสมัยใหม่
ทฤษฎีระบบ (System Theory)
ผู้ที่ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีระบบคือ Bertalanfy นักชีววิทยาชาวออสเตรีย
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบในการบริหารองค์กร
สิ่งนำเข้า (Input)
ทรัพยากรต่างๆ
กระบวนการ (Process)
เป็นกิจกรรมทางการบริหารจัดการ
ผลผลิต (Output)
สิ่งแวดล้อม
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
ระบบเปิด (Opened system)
เป็นระบบที่อาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การหรือหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์นั้นต้องสมดุลรวมทั้งสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปก็มีผลและอิทธิพลทำให้ระบบเปลี่ยนแปลงไปเช่นเดียวกัน
ระบบปิด (Closed system)
เป็นระบบที่มีความสมบูรณ์ภายในตัวเอง ไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่นใด และแยกคนจากสภาพแวดล้อมต่างๆในสังคม ซึ่งเป็นจริงได้ยาก
ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Contingency management theory)
หลักการของทฤษฎีนี้คือ ในการแก้ไขปัญหาไม่มีวิธีใดดีที่สุด สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดว่าควรจะใช้การบริหารแบบใด ผู้บริหารจึงต้องมีการใช้วิธีการจัดการที่เหมาะสม จะใช้วิธีการบริหารรูปแบบเดิมๆไม่ได้
จุดเด่นของทฤษฎีนี้คือ การสอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีถูกนำมาใช้ในกิจกรรมการบริหาร 3 ประเภท
การสร้างแรงจูงใจ เพราะเชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นผลมาจากปฏิกิริยาที่บุคคลมีต่อส่วนประกอบที่สำคัญๆของสิ่งแวดล้อมสามารถถูกจูงใจจากอิทธิพลรอบข้าง
การเป็นผู้นำ ผู้บริหารควรมีความยืดหยุ่น
การจัดองค์การต้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์การและวิทยาการที่ใช้และองค์การจะต้องมีความยืดหยุ่นด้วย
ทฤษฎีการบริหารเชิงปริมาณ (Quantitative theory)
ใช้คณิตศาสตร์ สถิติและสารสนเทศเป็นเครื่องมือเพื่อแก้ปัญหาทางการจัดการ
ใช้ได้เฉพาะปัญหาที่มีลักษณะเป็นแบบที่มีโครงสร้าง(structured problem)
ส่วนประกอบที่สำคัญของทฤษฎี
การจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative management) โดยใช้เทคนิคคณิตศาสตร์
การจัดการการดำเนินการผลิต (Operations management) ซึ่งประกอบด้วย เทคนิคต่าง ๆ ที่ผู้จัดการสามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะระบบการผลิตขององค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management:TQM) เป็นการจัดการคุณภาพของหน่วยงานในองค์การทั้งหมด
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (management information systems)