Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นครู (ประวัติ (ปฏิรูปการปกครอง (ร5 (สร้างโรงเรียนตลอดรัชกาล…
ความเป็นครู
ประวัติ
โบราณ
สุโขทัย
สถานศึกษา4แห่ง
วัง
for king+เชื้อพระวงศ์
ครู = พราพมณ์ปุโรหิต+พระ ที่ได้รับการคัดเลือกมาเป็นอย่างดี
ชาย : วิชาการเป็นking การต่อสู้ คาถาอาคม พระธรรมนูญศาสตร์
หญิง : การเรือน เย็บปักถักร้อย
สำนักราชบัณฑิต
for คนที่ประชาชนยกย่องว่ามีความรู้สูง+ลูกหลานเจ้านายเชื้อพระวงศ์
เรียนไทย ขอม มอญ
ตามความถนัดของผู้สอน
สำนักสงฆ์
คนส่วนใหญ่เรียน
ต้นกำเนิดโรงเรียนอย่างแท้จริง
เรียนไทย ขอม มอญ จริยธรรมและคัมภีร์ทางศาสนา
ครู = พระ
บ้าน
ความรู้ด้านอาชีพตามบรรพบุรุษ
ครู = คนแก่ในบ้าน
กรุงศรีอยุธยา
การศึกษาอยู่ที่วัดเป็นส่วนใหญ่
โรงเรียนแห่งแรก
โรงเรียนมิชชันนารี = ศาลาโรงเรียน
สมัยพระนารายณ์
ก่อตั้งby สังฆราชหลุยส์ ลาโน = บาทหลวงคาทอริก ฝรั่งเศส
รับความรู้จากมิชชันนาที
การเรียนการสอนศาสตร์ใหม่
วิทย์
ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์
ปรัชญา
ตำราเรียนเล่มแรก = จินดามณี
by กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ธนบุรี+รัตนโกสินทร์ตอนต้น
คล้ายอยุธยา
วัด = สถานศึกษา แต่ยังมีเรียนที่วัง
ร3
บูรณะวัดเชตุพลไว้ประชุมนักปราชญ์
จารึกวิชาการลงบนแผ่นศิลาประดับระเบียงวัด
คนกล่าวว่าเป็นม.แห่งแรกของไทย
แบบเรียนเพิ่ม2ฉบับ
หนังสือประถม ก กา
หนังสือประถมมาลา
ร2
สถานศึกษานอกจากวัด = โรงทาน
2379 ตั้งโรงพิมพ์แห่งแรก
by หมอบรัดเลย์
ปฏิรูปการปกครอง
ร5
เร่งปฏิรูปประเทศโดยเน้นการศึกษา
จัดตั้งโรงเรียนเรียนเพื่อสอนคนมารับราชการ
เลิกทาส
ติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น
2414
ตั้งโรงเรียนครั้งแรกในสยาม
โรงสกลหลวง(โรงเรียนหลวง)
โรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษ
สร้างโรงเรียนตลอดรัชกาล
โรงเรียนสวนนันทอุทยาน
มิชชันนารีเป็นครูใหญ่
โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ
ปัจจุบันคือโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
2453 ตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน
ฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวงต่างๆ
ร6
2459
จุฬาฯ = มหาลัยแห่งแรกของไทย
6 พค 2430 ตั้งกรมศึกษาธิการเป็นกรมอิสระ
2432 กรมศึกษาธิการไปรวมกับกรมอื่น
ยกฐานะเป็นกระทรวงธรรมการแต่ยังเรียกว่ากรมธรรมการ
1 มย 2435ตั้งกรมธรรมการเป็นกระทรวงธรรมการ
2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิง
ที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย
2464
พระราชบัญญัติประถมศึกษา พุทธศักราช2464
บังคับเด็กเข้าเกณฑ์เรียนหนังสือ
7ขวบ-14ปีบริบูรณ์
ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน
ปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ
ส่งเสริมให้ทำมาหาเลี้ยงชีพนอกเหนือจากทำราชการ
ปกครองระบบรัฐธรรมนูญระยะแรก
2475
เศรษฐกิจตกต่ำ
เนื่องจากประกาศกฏหมายการศึกษาแต่ขาดงบประมาณ
คณะราษฯวางเป้าหมาย
หลัก6ประการ ข้อ6เกี่ยวกับการศึกษาคือต้องให้ราษฎรได้รับการศึกษาอย่างเต็มที่
ร7
ตั้งสภาการศึกษา
เกิดแผนการศึกษาแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรก
เน้นให้การศึกษา3ส่วน
จริยธรรม
อบรมศึกษาศีลธรรม
พุทธศึกษา
ให้ความรู้
พลศึกษา
ให้มีร่างกายที่สมบูรณ์
2484
กระทรวงธรรมการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงศึกษาธิการ
ใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ
ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง
2488
ประกาศใช้พระราชบัญญัติครูพุทธศักราช2488
ควบคุมวิชาชีพครูขึ้นเป็นครั้งแรก
สมัยควง อภัยวงศ์เป็นนายก
เล็งเห็นปัญหา
คนดี คนเก่ง ไม่อยากเรียนครู
ครูเก่ง ครูดีจำนวนมากละทิ้งอาชีพครูไปทำอย่างอื่น
ตราพระราชบัญญัิตครู พุทธศักราช2488
แก้ปัญหา
สาระสำคัญคือ ให้มีคุรุสภา
กำหนดให้ครูทุกคนต้องเป็นสมาชิกคุรุสภา
พัฒนาการศึกษา
ตั้งกรมการฝึกหัดครู
ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปัจจุบัน
ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พศ2542
ปรับการสอนให้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอนในสาขาวิชาการและวิชาชีพ
มุ่งพัฒนาให้เป็นคนเก่งและคนดี ใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
ปรับโครงสร้างการบริหารกระทรวงศึกษาฯเป็น4ส่วน
สภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ความสำคัญ
บุคคล
ฝึกฝนอบรมบ่มนิสัยให้มีคุณสมบัติที่ดี
ให้ผู้เรียนมีความรู้
ปลูกฝังให้เคารพกฏหมาย กติกา ปฏิบัติตามหน้าที่ตนเอง
ให้รู้คุณค่าของศิลปะวัฒนธรรมและประเพณีของชาติ
ปลูกจิตสำนึกให้เห็นคุณค่าของธรรมชาติ
ใหู้้จักรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ช่วยให้สามารถเผชิญหน้ากับปัญหาได้อย่างมีสติปัญญา
เศรษฐกิจ
พัฒนาคุณภาพแรงงาน
ผลิตกำลังคนที่มีความรู้ มีทักษะ ตามความต้องการของสังคม
ขัดเกลาและเสริมสร้างบทบาททางสังคมโดยให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
สร้างความเสมอภาคในการกระจายรายได้
ตัวเร่งในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ประสบความสำเร็จ
สังคม
สร้างความมั่นคงให้สังคม
สร้างคนในชาติให้มีคุณภาพ มีคุณค่า
สร้างบุคคลในสังคมให้ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ กติกา มารยาท
ส่วนช่วยในการสร้างคนที่มีคุณภาพ
การเมือง
ให้มีความรู้ ความเข้าใขในระบบการเมืองการปกครอง
ปลูกฝังความรักและศรัทธาในระบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ความหมายของครู
สันสกฤต = คุรุ
บาลี = ครุ คุรุ
ครู หมายถึง บุคคลากรที่ทำหน้าที่หลักด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน