Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เรื่อง การแทนค่าข้อมูล ชนิดของข้อมูล และสัญญาณการสื่อสารข้อมูล (1.5…
เรื่อง การแทนค่าข้อมูล ชนิดของข้อมูล และสัญญาณการสื่อสารข้อมูล
1.1 การแทนค่าข้อมูล
สามารถจำแนกได้ 5 ประเภท ดังนี้ 1.ข้อความหรือสายอักขระ
2 ตัวเลข
3.ภาพ
4.เสียง
5.วีดีทัศน์
1.1.1 แอสกี้ (American Standard Code for Information Interchange : ASCII)
1.1.2 แอสกั้ขยาย (Extended ASCII)
1.1.3 ยูนิโคด (Unicode)
1.2 ชนิดขอข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ข้อมูลอนาล็อกหรือข้อมูลเชิงอุปทาน
ข้อมูลดิจิตลอดหรือข้อมูลเชิงเลข
1.3 ความหมายของสัณญาณอนาล็อก
สัณญาณข้อมูลสามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ สัณญาณอนาล็อก (Analog Signal )หรือเรียกว่าสัณญาณอุปมาณ และสัณญาณดิจิตอล (Digital Signal)
1.3.1 สัณญาณอนาล็อก (Analog Signal )
เป็นสัณญาณที่มีความต่อเนื่องเป็นลักษะของคลื่น
1.3.2 คุณสมมบัติของสัณญาณอนาล็อก
สามารถสรุปได้เป็นคุณสมบัติพื้นฐานของสัณญาณได้ดังนี้
1.ความถี่ของสัณญาณ คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นกับเวลา
2.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะสั้นๆ ของคลื่นสัณญาณในแสดงว่าคลื่นสัณญาณมีความถี่สูง
3.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะเวลานานๆ ของคลื่นสัณญาณแสดงว่าคลื่อสัณญาณมีความถี่ต่ำ
4.หากสัณญาณไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยในช่วงเวลาอื่นๆ กล่าวว่า ความถี่ของสัณญาณมีค่าเป็น 0
5.หากสัณญาณมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา กล่าวว่า ความถี่เป็นอนันต์
6.สัณญาณอนาล็อกที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันสามารถนำมาส่งในช่วงสัณญาณเดียวกันได้เรียกว่า การรวมคลื่นสัณญาณ
1.4 ความหมายขงสัณญาณดิจิตอล
สัณญาณที่เป็นรูปแบบที่ไม่มีความต่อเนื่อง
การแปลงสัณญาณดิจิตอลเป็นสัณญาณอนาล็อก เรียกว่า โมดูเลชั่น (Modulation)
การแปลงสัณญาณแบบอนาล็อกเป็นดิจิตอล เรียกว่า ดีโมดูเลชั่น (Demodulation)
1.5 สัณญาณรบกวนและข้อผิดพลาด
รูปแบบของสัณญาณรบกวนที่พบได้บ่อยครั้งระหว่างการส่งข้อมูลดังนี้
1.5.4 Echo คือ การสะท้อนของสัณญาณที่ส่งผ่านสื่อกลาง
1.5.5 Jitter คือ ความผิดพลาดในเรื่องของเวลาในขณะที่สัณญาณถูกส่งจากอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งไปยังอุปกรณ์อื่นๆ
1.5.6 Delay Distortion คือ การผิดเพี้ยนที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของสัณญาณข้อมูลที่มีความถี่ต่างกันด้วยความเร็วที่ต่างกัน
1.5.7 Attenuation คือ เกิดจากสัณญาณอ่อนกำลังลง ทำให้ถูกรบกวนได้ง่าย
1.5.3 Crosstalk คือ สัณญาณรบกวนที่เกิดจากการวางสายสื่อสารหลายสายไว้ด้วยกัน
1.5.2 Impulse Noise คือ สัณญาณรบกวนไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นระยะสั้น
1.5.1 White Noise คือ สัณญาณรบกวนแบบต่อเนื่องที่มีลักษณะเป็นคลื่นเสียง
1.6 แนวทางในการป้อนกันข้อมูลผิดพลาด
การป้อนกันข้อผิดพลาด (Error Preventino) ก่อนที่จะเกิดสัณญาณรบกวนขึ้น โดยสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้
1.ติดตั้งสายสัณญาณที่มีฉนวนหุ้ม เพื่อลดสัณญาณรบกวนที่เกิดจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ Crosstalk
2.ใช้สายโทรศัพท์ที่มีการรองสัณญาณรบกวนซึ่งถูกจัดเตรียมโดยผู้ให้บริการโทรศัพท์ เช่น สายคู่เช่า (Leased Line)ซึ่งมีการรองให้สัณญาณมีรัดับคงที่
3.เปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ที่มีเทคโนโลยีใหม่ๆ แม้ว่าอุปกรณ์เหล่านี้จะมีราคาแพง แต่สามารถลดข้อผิดพลาดต่างๆได้เป็่นอย่างดี
4.ติดตั้งอุปกรณ์ทวนสัณญาณ เช่น รีพีตเตอร์ (Reprater) สำหรับเพิ่มสัณญาณดิจิตอลหรือแอมพลิไฟเออร์ (Amplifier)เพื่อเพิ่มสัณญาณอนาล็อกเป็นต้น
5.ตรวจสอบคุณสมบัติของสื่อกลางที่นำมาใช้งาน เช่น สาย CAT5e สามารถส่งข้อมูลได้ไม่้ิน 100 เมตร หากนำสาย CAT5e มาใช้ส่งข้อมูลที่มีระยะทางมากกว่า 100 เมจร อาจทำให้สัณญาณขาดหาย ดังนั้น จะต้องติดตั้ง้ครื่องรัพีตเตอร์เพื่อทวนสัณญาณด้วย