Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ฮอร์โมนพืช (ออกซิเจน (auxin) (เป็นฮอร์โมนพืชชนิดเเรกที่ค้นพบมี …
ฮอร์โมนพืช
ออกซิเจน (auxin)
เป็นฮอร์โมนพืชชนิดเเรกที่ค้นพบมี
บทบาทสำคัญในการกระตุ้นการยืดตัว
ของเซลล์
ออกซิเจนกับการโค้งเข้าหาเเสงของปลายยอดพืช
การที่ปลายยอดพืชโค้งเข้าหาเเสงซึ่งเป้นปัจจัยภายนอก
ที่มากระตุ้นเป็นผลจากออกซิเจนโดยปกติพืชจะสร้างออก
ซิเจนบริเวณปลายยอดด้านที่ได้รับเเสงน้อยจะมีการสะสม
ออกซิเจนมากกว่าด้านที่ได้รับเเสงมาก
ออกซิเจนกับการนำไปใช้
สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายออกซินมีการนำมาใช้เพื่อ
เร่งการเกิดรากของกิ่งตอนหรือกิ่งปักชำ ใช้กระตุ้นให้พืชบาง
ชนิดติดผลโดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ
ไซโทโคนิน (cytokinin)
เป็นฮอร์โมนพืชอีกชนิดหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเเบ่งเซลล์เเละการเปลี่ยนสภาพของเซลล์
ไซโทไคนินกับการเจริญของตาข้าง
ทำงานร่วมกันของออกซิเจนซึ่งมีเเหล่งสร้างอยู่ที่ปลายรากเเละถูกเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืชสร้างเเหล่งอยู่ที่ปลายยอดเเละจะลำเลียงลงด้านล่างทำให้มัผลยับยั้งการเจริญของตาข้าง
ไซโทไคนินกับการนำไปใช้
สำหรับสารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายไซโทไคนินมีการนำมาใช้
เพื่อเร่งการเเตกตาข้างของพืชควบคุมทรงพุ่มของดอกไม้ประดับ
จิบเบอเรลลิน (gibberellin)
เป็นฮอร์โมนพืชอีกกลุ่มหนึ่งที่กระตุ้นให้เซลล์ที่มีลำต้นมีการยืดตัว
เเละเเบ่งเซลล์มากขึ้นทำให้ต้นไม้สูง
จิบเบอเรลลินกับการนำไปใช้
สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายจิบเบอเรลลินนิยม
นำมาใช้เพื่อช่วยให้ผลขยายขนาดใหญ่ขึ้นได้
จิบเบอเรลลินกับการยืดตังของลำต้น
กฎพันธุกรรมของเมนเดลคือลักษณะต้นสูงต้นเตี้ยซึ่งต่อมาความสูง
ขึ้นอยู่กับปริมาณจิบเบอเรลลินที่สร้างขึ้น
เอทีลีน (ethylene)
เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสถานะเป็นเเก๊สมีบทบาท
สำคัญในการสุกของผลไม้บางชนิด
เอทิลีนกับการสุกของผลไม้
พืชบางชนิกมีการสร้างเอทิลีนสูงขึ้นเเล้วส่งผลให้
อัตราการหายใจมีการเปลี่ยนสีของผลจากสีเขียวเป็นเหลือง
หรือเเดงเกิดการเปลี่ยนเเป้ฃเป็เป็นฮอร์โมนพืชอีกกลุ่มหนึ่งที่กระตุ้นให้เซลล์ที่มีลำต้นมีการยืดตัว
เเละเเบ่งเซลล์มากขึ้นทำให้ต้นไม้สูงขึ้นน้ำตาลมีรสชาติหวานขึ้น
เอทิลีนกับการนำไปใช้
จากสมบัติของเอทิลีนที่มีผลต่อการสุกของผลไม้
จึ้งมีการใช้เอทิฟอนที่ให้เเก๊สเอทิลีนเเละเเก๊สเซทิลีน
ซึ่งมีสมบัติในการควบคุมการสุกขอฃผลไม้ในเชิงพาณิชย์
กรดเเอบไซซิก (abscisic acid; ABA)
เป็นฮอร์โมนที่มีบทบาทสำคัญในการยับยั้งการงอกของเมล็ดทำให้เกิดการพักตัว
กรดเเอบไซซิกกัลการพักตัวของเมล็ด
หากจะเพาะเมล็ดจ้องนำเมล็ดไปเเช่น้ำก่อนเมื่อเมล็ดพัฒนาเต็มที่
โดยปริมาณน้ำภายในเซลล์จะลดลงอย่างมากในสภาวะดังกล่าว
พบว่าในเมล็ดมีปริมาณกรดเเอบบไซซิกที่เพิ่มขึ้น
กรดเเอบไซซิกกับการนำไปใช้
นำไปใช้ในการชะลอการเหี่ยวเฉาของพืชในขณะ
ขนส่งโดยการช่วยหรี่ลดการสูญเสียน้ำของพืช