Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (แบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ c…
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
แบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
แบบใช้พลังงานจากเซลล์
(Passive trasport)
การแพร่
การแพร่แบบธรรมดา
เป็นการแพร่ที่ไม่อาศัยตัวพา
หรือตัวช่วยขนส่ง (carrier) ใดๆเลย
เช่น
การแพร่ของผงด่างทับทิมในน้ำจนทำให้น้ำมีสีม่วงแดงจนทั่วภาชนะ
การได้กลิ่นผงแป้ง หรือ การได้กลิ่นน้ำหอม
การแพร่แบบโดยอาศัยตัวพา
คือ
คือการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปจนถึงบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ
แต่ต้องอาศัยตัวพาเป็นตัวกลาง (Carrier) ในการแพร่
ซึ่งมักเป็นสารจำพวกโปรตีนที่มีโมเลกุลขนาดเล็กเช่นกรดอะมิโนซึ่งพบได้ในเยื่อหุ้มเซลล์
รวมถึงน้ำตาลกลูโคส, คาร์บอเนตและไบคาร์บอเนต การแพร่แบบนี้ใช้การเคลื่อนที่แบบบราวนิงในการแพร่
การออสโมซีส
เป็นการแพร่ของเหลวผ่านเยื่อบาง ๆ
ตามปกติจะหมายถึง
การแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
เยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติในการยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นผ่านได้
การแพร่ของน้ำจะแพร่จากบริเวณที่เจือจางกว่า (มีน้ำมาก) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่มีความเข้มข้นกว่า (มีน้ำน้อย)
การแพร่ของน้ำนี้จะเกิดทั้งสองทิศทาง
คือ
ทั้งบริเวณเจือจาง และบริเวณเข้มข้
การแพร่แบบไดอะไลซีส
การแพร่แบบหารแคกเปลี่ยนอิออน
แบบไม่ใช้พลังงวนจากเซลล์
(Active transport)
แบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การนำสารเข้าสู่ภายในเซลล์
(Endocytosis)
พิโนไซโตซีส
(Pinocytosis)หรือ
การดื่มของเซลล์
การนำสารโมเลกุลใหญ่ในรูปของสารละลาย
เช่น โปรตีน
พาโกไซโตซีส
(phagocytosis)
ลำเลียงสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
เช่น
เม็ดเลือดขาว
ราเมือก
อะมีบา
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
(Receptor-mediated endocytosis)
การนำสารออกจากเซลล์
(Exocytosis)
การนำสารผ่านเซลล์
(Cytopempsis)