Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 ควาทรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร (ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก…
หน่วยที่ 1 ควาทรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร
ทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
เฮนรี่ แก๊นต์ (Henry L Gantt)
ได้นำเอาเทคนิคการจัดตาางสำหรับควบคุมการปฎิบัติงานมาใช้ เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน
Gantt's Milestone Chart แผนภูมิแสดงถึงความก้าวหน้าของงานประเภทเดียวกัน
Gantt's Milestone Chart มาดัดแปลงโดยเชื่อมเป็นเครื่องหมายลูกศร
Gantt's chart ลักษณะตารางเส้นตรงที่กำหนดเวลา
แฟรงค์ บังเกอรื กิลเบรธ (Frank Bunker Gillbreth)
การทำงานของคนแบ่งออกตามความชำนาญเฉพาะด้านและแบ่งเป็นส่วนๆจำทำได้ดียิ่งขึ้น
เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์ (Frederick winslowtaylor) บิดาแห่งการบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์
ปัญหาที่คนทำงานไม่เต็มศักยภาพนั้น สามารถแก้ไขได้ด้วยการออกแบบงานและจัดหาสิ่งจูงใจใหม่ๆ
3.คัดเลือกคนงานที่มีความสามารถแล้วฝึกอบรมให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆร่วมกัน
4.ใช้หลักการแบ่งงานกันทำระหว่างผู้บริหารและคนงาน "การกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด"(One Best Way)ปัจจุบันเรียกว่า "time and motion study"
2.มีการวางเเผนแทนที่จะให้คนงานเลือกวิธีการเอง
1.กำหนดวิธีการทำงานทดแทนการทำแบบลองผิดลองถูก
ลิเลียน กิลเบรธ (Lilian Gillbreth)
ศึกษาปริญญาเอกด้านจิตวิทยา ส่งเสริมงานด้านMotion Studies
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (adminstrative managemant)
เฮ็นรี่ ฟาโยล (Henry Fayol) กระบวนการบริหารที่ผู้บริหารต้องปฎิบัติไว้ 5ประการ (POCCC)
การจัดองค์กร (Organizing)
การบังคับบัญชาและสั่งการ(Commanding)
การวางแผน (Planning)
การประสานงาน (Coordinating)
การควบคุม (controlling)
ลูเทอร์ กูลิค และลินดอลล์ เออร์วิค (Luther Gulick and Lyndall Urwick)กระบวนการพยาบาล 7ประการ POSDCoRB
มารีนเนอร์ (Marrinener,1997)
การจัดการองค์กร
การจัดการบุคลากร
การวางเเผน
การอำนวยการ
การควบคุม
อาน และอัคคาเบย์ (Arant and Huckabay,1980)
การวางแผน
การจัดองค์กร
การควบคุม
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
แมกซ์ วีเบอร์ (Mac Weber)
1.มีการแบ่งงานกันทำ
2.มีการจัดระบบตำแหน่งที่ตามสายบังคับบัญชาระดับสูงมายังระดับต่ำ
3.มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับกฎเกณฑ์ต่างๆ
4.บุคลากรต่างทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ
5.การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
6.มีความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่
7.มีอำนาจหน้าที่
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก(NEO-Classical Theory)
วิลเลี่ยม กูซี่(William G. Quchi)ให้ความสำคัญกับกลุ่มไม่ใช่ตัวบุคคล
2.ผู้ปฎิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกันเพราะสภาพแวดล้อมของงานที่จัดไว้ทำให้เกิดช่องว่างของความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสมาชิกโดยไม่จำเป็น
3.ผู้ปฎิบัติงานต่างมีจิตสำนึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ ความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
1.ผู้ปฎิบัติงานส่วนใหญุ่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกันโดยอยู่รอบกรอบของปรัชญาองค์กรการที่ระบุไว้
4.ผู้ปฎิบัติงานสามารถไว้วางใจได้โดยทำงานไม่บกพร่อง
เชสเตอร์ บาร์นาร์ด (Chester I.Barnard.1938)
มีแนวคิดว่า องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อลดกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จด้วยความร่วมแรงร่วมใจ
แมคเกอร์ (Douglas McGregor)
เจ้าของทฤษฎี X,Y
อับราฮัม มาสโลว์(Abraham Maslow)
เป็นนักจิตวิทยาที่ค้นหาเรื่องลำดับขั้นของความต้องการมนุษย์
เอลตัน เมโย(Elton Mayo)
พบว่าวิธีที่จะเพิ่มประสิธิภาพในการทำงานสามารถทำได้ดดยต้องทุ่มเทสนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์
เฟรเดริค เฮิร์ซเบิร์ก(Frederick Herzberg)
1.แรงจูงใจซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยภายใน
2.ปัจจัยค้ำจุนซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยภายนอก