Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการ เผาผลาญน้ำตาล :smiley:…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการ เผาผลาญน้ำตาล :smiley:
ปัจจัยที่มีผลกับน้ำตาลในเลือด
ภาวะเครียด
Insulin สร้างไม่ได้ /สร้างไม่พอ/ออกฤทธิ์ได้ไม่ดี
การอดอหาร
จำนวนReceptors น้อยกว่าปกติ
กินอาหาร
ยาบางชนิด เช่น steroid, Thiazides(ยาขับฉี่)
Insulin
เมื่อขาด
เพิ่มการสร้างน้ำตาลจาก Glycogen (Glycogenolysis)
เพิ่มการส้รางน้ำตาลจากแหล่งที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต+หลั่งGlucocorticoid= Gluconeogenesis
ลดการเปลี่ยนGlucose เป็น Glycogen(Glycogenesis)
เพิ่มการสลายไขมันนำมาใช้เป็นพลังงงาน
เบาหวาน
คือ
ความผิดปกติด้านเมตาบอลิซึมของร่างกายทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติอย่างเรื้อรังเป็นผลจากความบกพร่องของการหลั่งอินซูลิน การออกฤทธิ์ของอินซูลิน
ชนิดความผิดปกติของการเผาผลาญน้ำตาล
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 2
ภาวะดื้อต่ออินซูลินหรือมีการหลั่งอินซูลินผิดปกติหรือเบต้าเซลล์เสื่อมจึงสร้างอินซูลินได้ลดลง
อ้วน น้ำหนักเกิน, Acanthosis nigricans(ที่คอ),ประวัติครอบครัว
เกี่ยวข้องกับความผิดปกติอื่น
ตับอ่อนถูกทำลาย,การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน,ผลจากยา
เบาหวานชนิดที่ 1
ขาดอินซูลิน เพราะร่างกายสร้าง แอนติบอดีทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อน (Autoimmue)
อาจพบketoacidosis(สลายไขมันมาก)
พบในคนอายุน้อย
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ฮอร์โมน lactogen จากรกและprogesterone ทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
การทนต่อกลูโคสมีความเสื่อม
ใครต้องตรวจเบาหวาน
ถ้าไม่มีปัจจัยเสี่ยงให้ตรวจตอนอายุ45 ปี
ถ้าปกติตรวจซ้ำ 3ปีต่อไป
มีปัจจัยเสี่ยง 1 ข้อหรือมากกว่า
ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
BMI > 25 kg/m2 หรือรอบเอวเกินมาตรฐาน
อายุมากกว่า 35
ความดนสูง หรือรับประทานยาลดความดันอยู่
ไขมันในเลือดผิดปกติ TG>250 หรือ HDL <35 mg/dl
ประวัติเป็นเบาหวานขณะท้อง หรือคลอดบุตรน้ำหนัก>4 kg
ปัญหาแทรกซ้อน
เฉียบพลันเป็นภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วย
Hyperosmolar hyperglycemic state (HHS)
ซึม ขาดน้ำอย่างมากก ผู้ป่วยไม่สามารถดื่มน้ำทดแทนได้ทัน
เลือดไปเล้ยงที่ไต ปัสสาวะออกน้อยลง เกิด Hypovolemic shock
พบบ่อยในเบาหวานชนิด 2ที่สูงอายุ BS >600 mg/dl
มีกรดไขมันอิสระในย HHS < DKA pH ในเลือดปกติ ไม่พบ Ketone ในเลือด
Hypoglycemia
อาการ
Autonomic
เหงื่อก มือสั่น ใจสั่น หงุดหงิด ปวดหัว RRเร็ว กระวนกระวาย ชารอบปาก ่อนเพลีย ตาลายเป็นลม
Neuroglocopenic
อ่อนแรง ออกร้อน ปวดหัว ฝันร้าย พูดลำบาก หาว สับสน ไม่มีสมาธิ ฃัก หมดสติ
สาเหตุ
กินอาหารน้อยไป ไม่ตรงเวลา ออกกำลังกาย ทำงานมากไป
รับยาลดน้ำตาลกลุ่ม Sulfonyluria , alcihol ,ยาแก้ปวด Salicylates
รับอินซูลินมากไป
ควรสอบถามเกี่ยวกับ Lifestyle อาหาร การออกกำลัง การใช้ยา ทบทวนความรู้ ความเข้าใฝจในการกฃดูแลตนเอง ให้คำแนะนำผู้ป่วย
-normal 70-100 mg/dl ,
Mild: BS 50-60 mg/dl, Moderate: BS 40-49 md/dl , severe:BS <40 mg/dl
Diabetic ketoacidosis (DKA)
พบบ่อยในเบาหวานกลุ่ม 1
สาเหตุจากากรขาดอินซูลิน /ได้ไม่พอกับความต้องการร่างกาย
กลไก
การขาดฮอร์โมนอินซูลินร่วมกับ การเพิ่มฮอร์โมนที่ตอบสนองต่อภาวะเครียด เรียก
Counter regulatory hormone
เฃ่น Glucagon ,epinephine, cortisol ,GH
ปัจจัยสนับสนุน คือ เครียด อดอาหาร ติดเชื้อ
อาการ
น้ำตาลในเลือดสูง มากกว่า 300mg/dl ,ขาดน้ำ คลื่นไส้อาเจียน หายใจหอบลึก(Kussmaul) ซึม, metabolic acidosis(pH< 7.3,serum bicarbonate <15 mmol/l) ,พบketone ในเลือดและปัสสาวะ
เรื้อรัง
Micro-vascular complication
Diabeticneuropathy
Diabetic nephopathy
Diabetic retinopathy
Macro-vascular complication
Stroke
Cardiovascular disease