Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตราฐานอาชีพ :tada: (มาตาฐานอาชีพที่นำไปสู่อาเซียน :check: (อาชีพวิศวกร(…
มาตราฐานอาชีพ :tada:
ความสำคัญของมาตราฐานอาชีพ :check:
ทักษะ (Skill)
ทักษะเป็นการสะสมประสบการณ์จนเกิดความชำนาญ มีความสามารถเพียงพอที่จำทำงานได้อย่างมีคุณภาพ
ความรู้(Knowledge)
ความรู้เป็นสิ่งจำเป็นที่จะใช้งานนั้นๆ ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการหรือหลักทฤษฎีในอาชีพต่างๆ
ทัศนคติ(Attitude)
มีจิตสำนึกในการทำงานที่ดี ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับนิสัยในการประกอบอาชีพ เช่น การตรงต่อเวลา
ความหมายมาตราฐานอาชีพ
:warning:
หมายถึงข้อกำหนดที่เป็นเกณฑ์เกี่ยว ความรู้ความสามารถและทัศนคติที่คน สามารถใช้ในการทำงานในอาชีพต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ :check:
ประเภทมาตรฐานอาชีพ :check:
1. มาตรฐานอาชีพเฉพาะ :star:
เพื่อคนหางานที่ต้องการไปทำงานต่างประเทศ
ตามความต้องการของสถานประกอบการที่ออกให้
ตามความต้องการของแรงงานจังหวัด
2. มาตรฐานอาชีพแห่งชาติ :star:
เป็นมาตรฐานที่ทำการร่างโดยผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาอาชีะและคณะกรรมการส่งเสริมอาชีพให้การอนุมัติ
3. มาตรฐานอาชีพของอาเซียน :star:
เป็นมาตรฐานที่จำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันจัดทำขึ้น จากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ เนื่องจากนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นไป
4. มาตรฐานอาชีพนานาชาติ :star:
ทักษะตามมาตรฐานอาชีพ :check:
1. ทักษะอาชีพช่างไฟฟ้าภายนอกอาคาร มีทักษะ 3 ระดับ :star:
ระดับ 1 ความสามารถในการปฏิบัติงานการเดินสายและต่อสายไฟฟ้า
ระดับ 2 ความสามารถในการปฏิบัติงาน
ระดับ 2 ความสามาในการปฎิบัติงาน
2. ทักษะอาชีกกานดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งมีมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 1 เท่านั้น :star:
การดูแลความสะอาดและอนามัยสิ่งแวดล้อม
การปฐมพยาบาล
การให้อาหาร น้ำ ตามคำสั่งแพทย์
การขับถ่าย
การเคลื่อนไหวและเคลื่อนย้ายผู้สูงอายุ
ยา
3. ทักษะอาชีพนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ภาษาซี) มี 2 ระดับ ได้แก่ :check:
1. ระดับ 1
การใช้โปรแกรมจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล
การเขียนโปรแกรม
การใช้โปรแกรมจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล
2. ระดับ 2
การประยุกต์เขียนโปรแกรมตามลักษณะงานที่กำหนด
การเขียนคำสั่งเพื่อทำงานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ
การเขียนโปรแกรมเรียกใช้ตัวเอง
การประยุกต์ใช้คำสั่งสร้างผลงานในด้านต่างๆ
การสร้างชุดคำสั่งใหม่
การสร้าง Data Link Library (DLL) หรือ Unit
มาตาฐานอาชีพที่นำไปสู่อาเซียน :check:
อาชีพวิศวกร( Engineering Services)
อาชีพพยาบาล (Nursing Services)
อาชีพสถาปนิก(Architectural Services)
อาชีพการสารวจ (Surveying Qualifications)
อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services)
อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
อาชีพแพทย์ (Medical Prars)
อาชีพการบริการ/การท่องเที่ยว ( Tourism )