Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงมารดาหลังคลอดในภาวะปกติ (การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา…
การเปลี่ยนแปลงมารดาหลังคลอดในภาวะปกติ
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารกและครอบครัว
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและครอบครัวในระยะหลังคลอด
ระยะสร้างความคุ้นเคย (Acquaintance phase)
ระยะควบคุมซึ่งกันและกัน (Mutral regulation phase)
ระยะแนะนำตัว ( Introductory phase)
ระยะแลกเปลี่ยนปฎิสัพันธ์ซึ่งกันและกัน (Reciprocity)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมพันธภาพระหว่างมารดา ครอบครัวกับทารก
ปัจจัยด้านมารดา
ปัจจัยด้านบิดา
ปัจจัยด้านทารก
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ เจตคติ และสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมปฎิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด ( Entrainment)
จังหวะชีวภาพ ( Biorhythmcity)
การใช้เสียง (Voice)
การรับกลิ่น ( Odor)
การประสานสายตา (Eye -to - eye contact)
การให้ความอบอุ่น (Body warmth or Heat)
การสัมผัส (Touch, Tactile sense)
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม
กระบวนการสร้างและการหลั่งน้ำนม การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและการขับน้ำนม
อารมณ์และการดูด และการใช้ยา
อารมณ์ความรู้สึกของมารดา
ระยะเวลาที่ให้ทารกดูดนม
การดูดที่ไม่ถูกวิธี
การใช้ยาหรือสารกดการหลั่ง Prolactin and Estrogen
การดื่มสุรา ยาลดความเจ็บปวด และสารเสพติด
ส่วนประกอบของน้ำนมและการเปลี่ยนแปลง
ระยะหัวน้ำนม (Colostrum)มีสีเหลืองข้น หลั่งระยะแรกหลังคลอด มีสารภูมิคุ้มกันในปริมาณสูง จึงห้ามบีบทิ้ง
ระยะน้ำนมปรับเปลี่ยน (Transitional milk) อยู่ในช่วง 4-10 วัน จนถึง 2 สัปดาห์หลังคลอด
ระยะน้ำนมแม่ (Mature milk) ประกอบด้วยสารอาหารต่างๆ เช่น Immunoglobulin เม็ดเลือดขาว โปรตีนต่างๆที่ช่วยต่อต้านเชื้อโรค
สรีรวิทยาของการสร้างและการหลั่งน้ำนม
การสร้างน้ำนม (Lactogenesis)
ระยะที่ 1 เป็นระยะการสร้างน้ำนมระยะตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2 มีการหลั่งของน้ำนมเหลือง (Colostrum)
ระยะที่ 2 เป็นการสร้างน้ำนมในระยะหลั่งคลอด ต่อมใต้สมองผลิต Prolactin เพิ่มขึ้น ร่วมกับการดูดของทารก
ระยะที่ 3 การสร้างถูกควบคุมโดยปัจจัยของเต้านมจากการหลั่งน้ำนมออกจากเต้า
การเจริญของเต้านม (Mammogenesis)
ไตรมาสที่ 2 ต่อมน้ำนมที่เป็นกลีบ (Lobule) เจริญพร้อมการสร้างน้ำนมที่เป็นลักษณะเหมือนถุง (Alveolus) และการหลั่งของน้านมเหลือง (Colostrum)
ไตรมาสที่ 3 การขยายของถุงน้ำนม เน่องจากฮอร์โมน Estrogen และการถูกกระตุ้นโดยการดูดของทารก
ไตรมาสที่ 1 ท่อน้ำนมเจริญด้วยอิทธิพลของ Estrogenท่อนมงอกและการแตกแขนง
การควบคุมการสร้างและการขับน้ำนม (Galactogenesis)
การขับของน้ำนม
กลไกการควบคุมของระดับของฮอร์โมน Prolactin and Oxytocin
การดูดของทารก
Rooting reflex เมื่อมีการสัมผัสบริเวณริมฝีปากทารกจะอ้าปากและยื่นลิ้นออก
Sucking reflex เมื่อมีการสัมผัสที่เพดานปากทารกจะดูดนมโดยอัตโนมัติ
Swallowing reflex เมื่อมีสิ่งในปากของทารกจะกลืนอัตโนมัติ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตสังคมของมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก
ภายหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้วระดับของมดลูกจะลอยขึ้นมาเหนือสะดือ เอียงไปทางด้านขวา ลดระดับลงวันละ 1/2-1 นิ้ว
เยื่อบุโพรงมดลูก
ระยะที่ 1 คือระยะ 2-3 วันหลังคลอด มีสีแดงสดเหมือนเลือดสดเรียกว่า lochia rubra
ระยะที่ 2 คือระยะภายหลังคลอด 2-3 วัน น้ำคาวปลาจะมีสีจางหรือคล้ำลงเรียกว่า lochia serosa
ระยะที่ 3 คือระยะ 7-10วันภายหลังคลอด จะมีมูกสีเหลือง เรียกว่า lochia alba
ปากมดลูก
ภายหลังคลอดจะมีสภาพช้ำ อ่อนนุ่ม อาจจะมีการฉีกขาดร่วมด้วย
ช่องคลอด
ภายหลังคลอดจะค่อยๆลดขนาดลง จนกระทั่งในระยะสัปดาห์ที่ 6-10 จึงสมบูรณ์เหมือนเดิม
เยื่อพรหมจารีย์
มีลักษณะฉีกขาดกระรุ่งกระริ่งเรียกว่า คารันคูเล (caruncalae myiforms)
ฝีเย็บ
จะบวมช้ำหลังคลอด ถ้าเกิดการฉีกขาด ต้องได้รับการซ่อมแซม
กล้ามเนื้อเชิงกราน
ความแข็งแรงค่อยๆเริ่มกลับคืน แต่อาจจะไม่เหมือนเดิม
แคมนอกและแคมใน
จะอ่อนนุ่ม เหี่ยวเล็กลง เนื่องจากการลดระดับของฮอร์โมน Estrogen and Progesterone
เนื้อเยื่อบุช่องท้องและผนังช่องท้อง
จะกลับคืนสู่สภาพเดิม ในระยะเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์เป็นต้นไป
การตกไข่และประจำเดือน
ในรายที่ไม่ได้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา จะกลับมีประจำเดือนใหม่ใน 7-9 สัปดาห์หลังคลอด ส่วนในรายที่เลี้ยงทารกด้วยนมมารดา จะมีประจำเดือนใหม่ที่เดือนที่ 9 หลังคลอด
เต้านม
เป็นอวัยวะส่วนเดียวที่มีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งครรภ์และจะเลี่ยนแปลงต่อไปจนกระทั่งคลอด
ระบบไหลเวียนเลือด
หลังคลอดทันที จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัว
ระหว่างการคลอดที่มีการเสียเลือดจะช่วยรักษาสมดุลเอาไว้
ระบบหายใจ
ขนาดของทรวงอกและช่องท้องมีการเปลี่ยนแปลรวดเร็ว ทำให้ปริมาตรอากาศในปอดที่ค้างอยู่ในปอดที่ค้างอยู่ขณะหายใจออกเพิ่มขึ้น
ความจุอากาศและความจุของอากาศขณะหายใจเข้าลดลง
ระบบทางเดินอาหารและการขับถ่าย
มารดาหลังคลอดจะเริ่มหิวและกระหายน้ำทันทีที่คลอดเสร็จ ควรให้มารดาได้ดื่มน้ำหวาน หรือโอวัลตินอุ่นๆ
อาจมีอาการท้องผูกในระยะหลังคลอด
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่วนนำของทารกจะไปกดบริเวณกระเพาะปัสสาวะในระหว่างการคลอด ทำให้ผนังใต้เยื่อบุกระเพาะปัสสาวะกิดบวม มีเลือดคั่งและมีเลือดออก
อาจพบโปรตีนในปัสสาวะร่วมด้วย จะคืนกลับสภาพปกติ ในเวลา 8-12 สัปดาห์
ผิวหนัง
หลังคลอดฝ้าบริเวณใบหน้าที่อาจเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์จะค่อยจางหายไป
สีของลานนม เส้นกลางหน้าท้องและรอยแตกของผิดหนังบริเวณหน้าท้องอาจมีสีจางลง
ร่างกายจะขับน้ำออกทางผิวหนังจำนวนมากจึงมีเหงื่อออกมาก
น้ำหนักตัว
หลังคอดทันทีน้ำหนังตัวจะลดลงประมาณ 4-8 กิโลกรัม ในระยะ 3-5 วันภายหลังคลอด น้ำหนังจะลดลงอีก 2-3 กิโลกรัม การลดลงของน้ำหนักตัวขึ้นอยู่กับพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ และการออกกำลังกาย
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
พฤติกรรมระหว่างมารดากับทารก
พฤติกรรมระหว่างทารกกับมารดา
การปรับตัวกับบทบาทมารดา
ระยะที่ 2 Taking-hold phase เริ่มช่วยเหลือตนเองได้
ระยะที่ 2 Letting - go phase สามีและภรรยาต้องพึ่งพากัน
ระยะที่ 1 Taking - in phase เป็นระยะพึ่งพา