Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาการผลิตครูในประเทศไทย (สถานภาพการพัฒนาครู (การฝึกอบรมพัฒนาครูของประเท…
ปัญหาการผลิตครูในประเทศไทย
บทสรุปสำหรบผู้บริหาร
การศึกษาสถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย
เป็นการศึกษารวบรวมขอมูล จากการสงเคราะห์แนวคิดและข้อเสนอแนะจากการประชุม
สถานภาพการใช้ครูและระบบการบริหารงานบุคคลของครู
สถานภาพการพัฒนาครู
สถานภาพการผลิตครู
โดยใช้กรอบการวิเคราะห์สังเคราะห์ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ผลการศึกษา
ประเทศไทยให้ความสําคัญกับการศึกษาอย่างมากและ
มีความต่อเนื่อง
ลงทุนด้านการศึกษาสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก แต่การศึกษาไทยยังคงมีปัญหาในด้านคุณภาพที่ยังไม่สามารถแข่งขันได้ในเวทีระดับนานาชาติ
เนื่องจากการขาด“ความรับผิดชอบ” (Accountability) ของระบบการศึกษาต่อนักเรียนและผู้ปกครอง
การขาด “ประสิทธิภาพ” ในการใช้ทรัพยากร
“ครู” บุคลากรสําคัญในการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สถานภาพการผลิตครูในประเทศไทย
สถานภาพคณาจารย์ในสถาบันผลิตครู
คณาจารย์ประเทศไทยมีคุณภาพระดับ 2 คือ ระดับ “ต้องปรับปรุง”
ระบบและรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการผลิตครูหลักสูตรการผลิตครูของไทยในปัจจุบัน
หลักสูตรการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี(หลักสูตร 5 ปี)
หลักสูตรการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี(หลักสูตร 2 ปี)
หลักสูตรการผลิตครูระดับปริญญาโททางการสอน (หลักสูตร 3 ปี)
ปัญหาและอุปสรรคการผลิตครูในภาพรวม
การผลิตครูที่ขาดความต่อเนื่องเพราะนโยบายเปลี่ยนแปลงตามนโยบายของนักการเมือง
รัฐลงทุนเพื่อการผลิตครูต่ํา
ระบบการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษาครูยังไม่มีคุณภาพ :
ขาดมุมมองที่รอบด้านเนื่องจากจบการศึกษาในประเทศเป็นส่วนใหญ่
การผลิตครูไม่ตรงกับความต้องการการใช้งาน
แนวทางการผลิตครูในอนาคต
ปัจจัยนําเข้า (Input)
ต้องมีการคัดสรรบุคคลที่เหมาะสมเข้ามาเป็นครู
เพิ่มจุดเน้นคุณลักษณะคนที่มีใจรักในวิชาชีพ
มีจิตวิญญาณความเป็นครู
มีการพัฒนาการเรียนการสอน สื่อ อุปกรณ์อย่างต่อเนื่อง
กระบวนการ (Process)
ต้องผลิตครูตามความต้องการของประเทศมีความเหมาะสมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
ลดการบรรยายในชั้นเรียน
เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใช้กระบวนการกลุ่ม
ผลผลิต (Output)
คนเป็นครูต้องมีสุขภาพดีทั้งทางกายและจิตใจ
ครูต้องเป็น “ครูเพื่อศิษย์”
เป็นผู้อํานวยความสะดวกในการเรียนรู้(learning facilitator)
มีหลักการปฏิบัติงาน “สอนน้อย เรียนมาก”
ครูในอนาคตที่ควรเป็นคือ “ครูยุคใหม่”
เป็นผู้อํานวยความสะดวก (Facilitator)
เป็นผู้แนะแนวทาง (Guide/Coach)
เป็นผู้ร่วมเรียนรู้/ร่วมศึกษา (Co-learner/Co-investigator)
สถานภาพการใช้ครูและระบบการบริหารงานบุคคลของครู
สถานภาพการใช้ครู
ครูมีศักยภาพไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
ครูขาดประสบการณ์ในการสอนและไม่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
จํานวนครูส่วนใหญ่จะกระจุกอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่และในเขตเมือง
ระบบการจัดสรรทรัพยากรครูและการบริหารจัดการที่ยังไร้ประสิทธิภาพ
ระบบการบริหารงานบุคคลของครูในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา
การกําหนดอัตรากําลัง มาตรฐานกําหนดตําแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา ยังขาดความชัดเจน
ทําให้ขาดการพัฒนาแนวทางที่ต่อเนื่อง ทําให้ขาดมาตรฐานการคัดคนเข้าสู่ระบบ
ขาดระบบพี่เลี้ยงผู้ชี้แนะที่ดีการประเมินผลการทดลองปฏิบัติราชการยังไร้ประสิทธิภาพ
การพัฒนาครูประจําการยังไม่เชื่อมโยงคุณภาพนักเรียนและวิทยฐานะที่ได้รับ
มีความเหลื่อมล้ําระหว่างข้าราชการครูและพนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง ฯลฯ
สถานภาพการพัฒนาครู
นโยบายด้านการพัฒนาครู
การพัฒนาครูเกิดความซ้ําซ้อน ขาดประสิทธิภาพ
มีการกล่าวถึงหรือให้ความสําคัญค่อนข้างน้อยกว่าด้านอื่น
ขาดกระบวนการมีส่วนร่วม
การลงทุนเพื่อการพัฒนาครู
ยังเป็นการลงทุนที่ไม่มากนัก งบประมาณเพื่อการพัฒนาครูมีกระจัดกระจายอยู่ในหลายโครงการ
รูปแบบการพัฒนาครู
ผลการพัฒนาเป็นเรื่องการให้ความรู้ขาดการพัฒนาทักษะที่ตรงกับสภาพจริง และไม่ตรงกับความต้องการ
ยังไม่มีการตั้งกองทุนพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
วิธีการพัฒนาครู
ยังขาดนวัตกรรมใหม่ๆส่วนใหญ่ใช้วิธีการฝึกอบรมแบบเหมารวม โดยใช้การบรรยาย
สภาพปัจจุบันและปัญหาการพัฒนาครู
ยังไม่มีหน่วยงานหรือเจ้าภาพหลักที่จะทําหน้าที่ดูแล กํากับติดตาม วางระบบและวางแผนการพัฒนาในภาพรวม
ไม่มีระบบการบริหารจัดการนิเทศติดตามผลที่จะช่วยในการพัฒนาครู
หลักสูตรการพัฒนาครูยังไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของห้องเรียน
การพัฒนาครูยังใช้รูปแบบเดิมๆ ไม่มีนวัตกรรมใหม่
การฝึกอบรมพัฒนาครูของประเทศที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูง
การสืบเสาะหาความรู้ซึ่งเป็นสมรรถนะที่จําเป็นสําหรับคนในศตวรรษที่ 21
มีการกระจายอํานาจการบริหารจัดการด้านต่างๆ ไปสู่โรงเรียน
ครูใหม่และครูพี่เลี้ยงจะสังเกตการสอนซึ่งกันและกัน มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของครูใหม่เพื่อให้คําแนะนําและปรับปรุง ครูใหม่จะได้เรียนรู้แบบอย่างที่ดี
ลดเวลาสอนของครูและลดภาระงานต่างๆของครูลงเพื่อเพิ่มเวลาสําหรับการเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกัน อย่างต่อเนื่อง
ฝึกอบรมระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ(Formal Professional Development)นอกเหนือจากการเรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียน
นางสาวกมลชนก จำปา 58201826 Sec.3