Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 (รายละเอียดของกลุ่มบุคคลที่เรียกตนเองว่า…
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง
รัชกาลที่ 5
ปรับปรุงเมืองไทยให้ทันสมัย
จัดตั้งสภา 2 สภา
สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
สภาที่ปรึกษาเป็นการส่วนพระองค์
มีคนเรียกร้องให้เปลี่ยนการปกครอง
กลุ่มก้าวหน้า ร.ศ. 103 ถวายหนังสือเปลี่ยนระบอบการปกครองโดย King ใต้รัฐธรรมนูญ
ขยายฐานการปกครองให้คนมีเสรีภาพเท่ากัน แต่ ร.5 บอกว่าคนไทยขาดความรู้ จึงปฏิรูปแต่การบริหารราชการส่วนแผ่นดินหลังถวายของกลุ่ม ร.ศ.103 เสียงเรียกประชาธิปไตยหายไป
พ.ศ.2449 เทียนวรรณ เสนอระบอบรัฐสภาเข้ามาใช้แต่บอกว่าราชาธิปไตยดีกว่า
รัชกาลที่ 6
เกิดกบฎ ร.ศ.130
โดยทหาร 91 คน
จะยึดอำนาจให้เป็นประชาธิปไตย
พัฒนาความรู้
ระบอบประชาธิปไตยต้องค่อยเป็นค่อยไป
ทดลองกับขุนนางและเทศบาลก่อน
ให้สิทธิเสรีภาพ
แสดงความคิดเห็นแก่หนังสือพิมพ์
จัดตั้งดุสิตธานี
ตราพระราชบัญญัติ ประถมศึกษา
รัชกาลที่ 7
พัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่น
พระราชทานรัฐธรรมนูญ
ร่างรัฐธรรมนูญของพระกัลณไมตรี
An Outline of Changes in the Form of Government
อธิการรัฐมนตรี
คณะเสนาบดี
ตั้งคณะรัฐมนตรีสภา
ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกสกัดพระราชอำนาจ
ประชาชนได้รับสิทธิเสรีภาพจนเสมอภาค
ความไม่พอใจจึงเกิดรัฐประหาร เรียกว่า กบฎบวรเดช
ร.7 ตัดสินพระทัยไม่เด็ดขาด ทำให้เสียความเชื่อมั่น สละราชสมบัติ
ยกเลิกการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ความเสื่อมศรัทธาการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ประชาชนชาวไทยบางส่วนได้รับการศึกษาแบบตะวันตก
อิทธิพลของสื่อมวลชน
เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง
เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24-28 มิ.ย. 2475
24 มิ.ย.
ปิดกั้นการติดต่อกับรัชกาลที่ 7
คณะราษฎรชุมนุมกันที่ลานพระบรมรูปทรงม้า
อ่านประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1
25 มิ.ย.
ร.7 ยอมสิ้นสุดอำนาจกษัตริย์
27 มิ.ย.
วางหลักการปกครองบ้านเมือง
ร.7 ลงนามในรัฐธรรมนูญชั่วคราว
28 มิ.ย.
ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ตั้งคณะรัฐบาลชั่วคราว
รายละเอียดของกลุ่มบุคคลที่เรียกตนเองว่า คณะราษฎร
ผู้ก่อตั้งคณะราษฎร
มีจำนวนสมาชิก 39 คน
ติดกลุ่มคนที่ปฏิวัติสยามเมื่อ พ.ศ.2473
มีการประชุมกันครั้งแรก
พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา - หัวหน้าฝ่ายทหารบก
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม - หัวหน้าฝ่ายพลเรือน
นางาตรีหลวงสินธุ์สงครามชัย - หัวหน้าฝ่ายทหาร