Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เมื่อไรจะเข้าใจเมื่อไรจะจำ เมื่อไรสมองจะผลิตความรู้และบันทึกข้อมูล 2…
เมื่อไรจะเข้าใจเมื่อไรจะจำ
เมื่อไรสมองจะผลิตความรู้และบันทึกข้อมูล
2
ข้อมูลพื้นฐาน
ความรู้เดิมที่มีอยู่ในสมอง
กระบวนการเรียนรู้จะนำความรู้
นั้นมาใช้เป็นฐาน
วิธีการ
ถ่ายทอดความรู้
การสาธิต
การให้ทดลอง
การเล่าเป็นนิทาน
การผูกเรื่องเป็นเพลง
การให้แสดงละคร
การเล่นเกม
การเรียนรู้โดยการทำโครงงาน
(Project Learning)
การเรียนรู้โดยใช้เรื่องราวเป็น
ตัวขับเคลื่อนการเรียนรู้ (Story Line)
การเรียนรู้โดยให้เด็กสร้างความรู้
ขึ้นมาด้วยตัวเอง(Constructive Learning)
สมองทำงานอย่างไรกับข้อมูล
ในประสบการณ์ตรง การเชื่อมโยงข้อมูลเกิดขึ้น
หลายส่วนในสมอง เป็นผลดีต่อการทำงานของวงจร
การทำงานในวงจรเดิม(ข้อมูลที่คุ้นเคย) หรือการ
เชื่อมโยงเพิ่มเดิมต่อวงจรเดิมที่มีอยู่แล้วทำได้ง่าย
ในการคิด สมองใช้วงจรเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์
สมองต้อง online ข้อมูลบางวงจรไว้ หรือเรียกว่า
ใช้พื้นที่ความจำชั่วคราว แต่มีจำกัด
โครงสร้างวงจรของสมอง พร้อมที่จะประมวลผลข้อมูลประเภทแปลกใหม่ เพราะมีนัยสำคัญต่อการอยู่รอด ขั้นพื้นฐาน
สมองหาความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เพื่อคาดการณ์
และเตรียมการต่อสิ่งที่อาจเกิดขึ้น เพื่ออยู่รอด
การทำงานของวงจรสมอง เป็นกระบวนการ
ทางชีวเคมี การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ใช้เวลา
วงจรสมองที่ทำงานด้านอารมณ์ ควบคุมและ
ส่งเสริมวงจรสมองที่ทำการเรียนรู้
สมองต้องให้พลังงานและสารโครงสร้าง
จากอาหารสร้างวงจรการเรียนรู้
สมองทำงานกับข้อมูล
ในสถานการณ์แบบใด
ถ้ารับข้อมูลด้วยประสบการณ์ตรง
จะเข้าใจและจำได้ดีกว่า
การรับข้อมูลที่คุ้นเคย หรือข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กับข้อมูลที่คุ้นเคยได้ดีกว่า
ข้อมูลจำนวนพอเหมาะช่วยให้การคิดง่ายขึ้น
และถ้ามีการสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลในชั้นต้นๆ
ไว้ก่อน จะทำให้คิดข้อมูลซับซ้อนต่อไปได้
ข้อมูลที่แปลกใหม่ จะดึงดูดความสนใจต่อสมอง
ข้อมูลที่มีความหมาย มีความสัมพันธ์
เกี่ยวโยงกัน เป็นข้อมูลที่มีความสำคัญ
การคิดและการจำต้องใช้เวลา
อารมณ์ มีผลต่อความสนใจ
รับข้อมูล การคิด และการจำ
สมองต้องมีสุขภาพดี จึงจะป้อนข้อมูลให้คิดและจำได้
ประสบการณ์
การที่สมองรับสื่อสัมผัม-พหุสัมผัส
ภาพที่เห็น มือที่สัมผัส
ความยาวนานที่ข้อมูลอยู่กับการรับรู้
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อมูล และการรับข้อมูล
ของสมอง
การรับรู้ต่อข้อมูลใหม่ จะเป็นไปได้ดี
ต่อเมื่อมีความรู้เดิมที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์
กับข้อมูลใหม่นั้นได้ก่อน
ขณะที่สมองกำลังรับข้อมูลใดอยู่
สมองก็จะคิดทำความเข้าใจสิ่งนั้นด้วยเสมอ
ความรู้เดิม หรือฐานข้อมูลเดิม
การมีโอกาสสัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆ
การสร้างข้อมูลความรู้พื้นฐาน
และความสัมพันธ์เชื่อมโยงขั้นต้นที่สำคัญ
การใช้ประสาทสัมผัมเป็นการ
ก่อสร้างประสบการณ์ตรง
ความรู้อื่นๆ ล้วนต่อยอดจาก
ประสบการณ์ตรงทั้งสิ้น
ประสบการณ์ตรงเป็นการรับรู้ที่ดีที่สุด
ต่อการมีอยู่และการรู้จัดสิ่งนั้น
การรับข้อมูล
ขณะที่มีการรับข้อมูล
สมองจะคิดเกี่ยวกับข้อมูลนั้นด้วย
สมองส่วนการคิด
จะใช้ระบบความจำขณะคิด
ความรู้ในโรงเรียน
ส่วนใหญ่เป็นความรู้ต่อยอด
เป็นการบอกนิยามใหม่ การอธิบายที่
สร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงใหม่ๆ