Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลใหม่ในสมอง การก่อ-สร้าง ความคิด และความจำ (ความจำ (5 ประเภท …
ข้อมูลใหม่ในสมอง การก่อ-สร้าง
ความคิด และความจำ
การรับรู้ การคิด
ความจำ
โครงข่ายวงจรร่างแหของ
เซลล์สมองที่ทำงานอยู่
พาหะ -> สื่อแห่งสัมผัส -> สมอง -> รับสัมผัส (sensation)
-> การรับรู้ (perception) -> ความรู้สึกต่าง ๆ
(เสียง แสง ร้อนเย็น อ่อนแข็ง หนักเบา มีกลิ่น และรส)
การเห็นภาพ
เป็นการก่อ-สร้าง การรับรู้ ความคิด ความจำ
เป็นการก่อ-สร้างวงจรการเรียนรู้ที่สำคัญ
เป็นการสร้างการรับรู้ขึ้นใหม่
สร้างความรู้สึกเห็น
เป็นผลจากการทำงานของสมอง
การคิด
คือ การประมวลผลในวงจรสัญญาณ
สร้างความสัมพันธ์ขึ้นระหว่างข้อมูล และกลายเป็น
ข้อมูลใหม่อีกชิ้นหนึ่งซึ่งซับซ้อนขึ้นไปเรื่อย ๆ
เกิดขึ้นบ่อย ๆ จนเกิด ความคงตัว
พัฒนาเป็น ความจำ (memory)
เด็ก วัยรุ่น คนวันพ่อแม่ และวัยกลางคน
มีลักษณะการคิดที่แตกต่างกัน
แบบจำลองเพื่อให้เห็นภาพที่จะเข้าใจได้ง่ายขึ้น
เป็นขั้นตอนสมมติของ กระบวนการเรียนรู้
ความจำชั่วคราว หรือ ความจำใช้คิด มีข้อจำกัด
ข้อมูลที่รับได้มีปริมาณจำกัด
การคิด คือ สมองทำงาน เพื่อให้ได้ความหมายบางอย่าง
จากสัญญาณประสาทที่ไหลเวียนอยู่ในวงจรเซลล์สมอง
การคิดกับความจำอาศัยกันและกัน โดยการคิดอาศัยข้อมูลจากความจำ ข้อมูลใหม่ที่เกิดขึ้นจากการคิดถูกนำมาใช้ซ้ำ ๆ จะกลายเป็นความจำ แต่ถ้าไม่มีข้อมูลเดิมอยู่ก่อนในความจำก็ไม่สามารถสร้างข้อมลใหม่ที่ซับซ้อนกว่าเดิมได้
อาการที่ไม่รู้ว่า สิ่งที่เห็นอยู่คืออะไร เรียกว่า visual agnosia
การมีข้อมูลอยู่ในความจำ หรือ การได้เรียนรู้ อาจไม่ได้ไม่หมายความว่า รู้จัก จำได้ หรือเอามาใช้ได้ เสมอไป อาจเกิดจากโรคบางชนิดหรือการเสื่อมของสมอตามอายุ
ความจำ
ประสบการณ์ที่ได้เกิดขึ้นแต่
ขบไปแล้วในโลกที่เป็นจริง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงในสมอง
อาจเชื่อได้ว่า ความจำในสมองเป็นเหตุแห่งพฤติกรรม
5 ประเภท
ตามลักษณะของ
สิ่งที่จำและการจำ
ความจำขณะคิด
(working memory)
ความจำทั่วไปเกี่ยวกับนิยามความหมาย
(semantic memory)
ทักษะ (procedural memory)
ความจำทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์
(episodic memory)
ความจำเกี่ยวกับอารมณ์
(emotional memory)
2 ประเภทตามเกณฑ์
ระยะเวลาที่จำ
ความจำระยะสั้น หรือความจำในปัจจุบันขณะ
(short-term memory)
ความจำระยะยาว หรือความจำประสบการณ์
(long-term memory)
มุมมอง-ความคิด :
จินตนาการ กับความเคยชิน
แบบทดสอบภูเขาสามลูก (three mountains task)
เป็นการทดสอบเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์ในเด็ก
แสดงให้เห็นว่าเด็กไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่คนอื่นคิด
หรือ มุมมองอื่นนอกเหนือจากประสบการณ์ของตัวเอง
การคิด บางครั้งต้องอาศัยจินตนาการ หรือ
การคิดนอกเหนือพื้นฐานของความรู้-ความจำที่มีอยู่เดิม
หากไม่พัฒนาการคิด ก็เหมือนกับ ความเคยชิน
คือ เคยมีประสบการณ์เท่าใด ก็ใช้เพียงแค่นั้น
กระบวนการเรียนรู้
ความรู้สึกรับรู้เบื้องต้น -> การสร้างความหมายหรือทำความรู้จัก
-> พัฒนาการทางภาษาหรือการคิดประดิษฐ์รหัส
การพัฒนาจากประสบการณ์
สัมผัสและรับขึ้นสู่ ทักษะการคิด
อาการรับรู้ คือ การมองเห็น การได้ยิน การรู้สึกสัมผัส
การได้กลิ่น การลิ้มรส ซึ่งเป็นฐานก่อกำเนิดความรู้ความหมาย
ทักษะในการคิด คือ ความสามารถในการวิเคราะห์-สังเคราะห์
หัวใจของกระบวนการเรียนรู้ คือ การจำและการมีความจำ
การเรียนรู้ที่ไม่ได้เพิ่มพูนจากฐานความรู้เดิม
จะก่อรูปเป็นความรู้ใหม่ได้ยาก
ความรู้ความเข้าใจก่อตัวเป็นขั้น ๆ จากง่ายไปสู่ยาก
จากความเข้าใขพื้นฐานไปสู่ความเข้าใจที่ซับซ้อน