Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลงานบุคคลสำคัญฯ พระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 5…
ผลงานบุคคลสำคัญฯ
พระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 2
ในรัชกาลของพระองค์
บ้านเมืองสงบสุข
พม่ายกทัพตีเมืองปักษ์ใต้
พม่าพ่ายแพ้ไป
พ.ศ. 2352
พม่ายกทัพกลับ
พ.ศ. 2363
ทำนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญ
ศิลปะวัฒนธรรม
สถาปัตยกรรม
นาฏศิลป์
ดนตรี
วรรณคดี
มาจากความสนใจของพระองค์
ทำให้ผู้อื่นปฏิบัติตามพระองค์
เป็นยุคทองของวรรณคดี
ฟื้นฟูศิลปกรรมประเพณีต่างๆ
ประเพณีวิสาขบูชา
ได้ยกย่องเกียรติโดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ ฯลฯ หรือ UNESCO
รัชกาลที่ 3
พระราชกรณียกิจที่สำคัญ
การป้องกันพระราชอาณาจักร
ทำสงครามกับพม่าอยุธยา-รัตนโกสินทร์
มีความสัมพันธ์ทางพระราชไมตรีกับลาว
เวียดนามมีข้อขัดแย้ง
เขมรเช่นเดียวกัน
เกิดความจลาจล
กองทัพไทยช่วย
ทรงขยายบ้านเมืองอาณาเขตกว้างขวางและเจริญรุ่งเรือง
ทำนุบำรุงศาสนาศิลปะวัฒนธรรม
สร้างบูรณะพระอารามขึ้นที่พระนคร
สร้างวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางใน
ศาสนกิจสงฆ์,ประชาชน
วัดตกแต่งฝีมือประณีตนำศิลปะจีนมาผสมผสาน
เพื่อความสวยงาม คงถาวร
แต่ละวัดภาพจิตรกรรมไม่เหมือนกัน
เศรษฐกิจ
ได้ฉายาว่า “เจ้าสัว”
เขี่ยวชาญเศรษฐกิจด้านการคลัง
กำกับราชการกรมพระคลังมหาสมบัติกรมท่า
แต่งสำเภาไปค้าขายเมืองจีนได้พระนามเจ้าสัว
พระบรมชนกนาถ
แก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากรใหม่
ตั้งระบบเจ้าภาษีนายอากรรับ ประมูลจัดเก็บภาษีส่งแก่ราชการ
รายได้แผ่นดินสูงขึ้นมาก
รวมทรัพย์ใช้ในราชการแผ่นดิน
เงินถุงแดง
รัชกาลที่ 5
ด้านกฎหมายศาล
ตั้งกระทรวงยุติธรรม
รับผิดชอบศาลยุติธรรม
แยกอำนาจตุลาการจากฝ่ายบริหาร
ยกเลิกจารีตนครบาล
ที่ใช้วิธีโหดร้ายในการไต่คดีความ
ตั้งโรงเรียนกฎหมาย
ประกาศใช้ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลลูกกฎหมายฉบับแรกของไทย
ปรับปรุงกฎหมายศาลเป็นลู่ทาง
สามารถแก้ไขปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตได้
สังคมวัฒนธรรม
ยกเลิกระบบ
ระบบไพร่
ระบบทาส
ประชาชนมีอิสรภาพการดำรงชีวิต
ยกเลิกประเพณีที่ล้าสมัย
รับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาในประเทศไทย
ด้านการปกครอง
แบ่งการปกครองเป็น 3 ส่วน
การปกครองส่วนกลาง
กระทรวง
การปกครองส่วนภูมิภาค
เทศาภิบาล
การปกครองส่วนท้องถิ่น
สุขาภิบาล
ให้ไทยทัดเทียมอารยประเทศ
จักรวรรดินิยม
ด้านการเงินธนาคารการคลัง
สนธิสัญญาเบาว์ริง
เศรษฐกิจขยายตัว
ชาวต่างชาติเข้ามาทำการค้า
ออกใช้ธนบัตร
กำหนดอัตราการแลกเปลี่ยน
อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ของต่างประเทศเข้ามาประเทศไทย
ด้านการคลังจัดทำงบประมาณ
ปรับปรุงระบบจัดเก็บภาษีอากรให้ดีขึ้น
ด้านสาธารณูปโภค
ริเริ่มกิจการสาธารณูปโภค
สร้างถนนใหม่
น้ำประปา
โทรเลข
ฯลฯ
ด้านการแพทย์
ทรงปรับปรุงแบบสมัยใหม่
ตั้งโรงพยาบาลวังหลัง(ศิริราช)
สภาอณาโลมแดง(กาชาด)
โรงเรียนสอนแพทย์
ด้านการศึกษา
สร้างโรงเรียนหลวงเพื่อให้
การศึกษาแก่ราษฎรส่งลูกไป ตปท.
ฝึกให้คนมีความรู้รับราชการ
ด้านศาสนา
ให้ตราบัญญัติลักษณะปกครองของสงฆ์
ตั้งสถานศึกษาของสงฆ์
มหาลัยมงกุฏราชวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
ทำสังคายนาพระไตรปิฎก
ด้านการทหาร
ปรับปรุงหน่วยทหารอาวุธ
ตั้งกรมยุทธินาธิการ
กระทรวงกลาโหม
โรงเรียนนายร้อย
ตราพระราชบัญญัติการเกณฑ์ทหารใช้ครั้งแรก
รัชกาลที่ 6
จัดตั้งคลังออมสิน
ตั้งบริษัทปูนซีเมนต์ไทย
ให้คนไทยใช้นามสกุล
พัฒนาด้านการคมนาคมปรับปรุงขยายกิจการรถไฟ
ตั้งสร้างเมืองดุสิตธานี
เพื่อปูพื้นฐานระบอบประชาธิปไตย
การพัฒนาประเทศทัดเทียมอารยประเทศ
ไม่ว่าเป็นพระราชกรณียกิจ
การศึกษา
วรรณกรรม
นาฏศิลป์
ก่อตั้งลูกเสือขึ้นครั้งแรกในไทย
ให้สร้างธงไตรรงค์
ให้คำนำหน้าสตรีและเด็ก
รัชกาลที่ 7
ด้านการศึกษา
ปฏิรูปการศึกษาของไทยมหาวิทยาลัย
กษัตริย์องค์แรกพระราชทานปริญญาบัตร
ด้านศาสนา
สั่งให้พิมพ์พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกสยามรัฐ
เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ได้เปลี่ยนเป็นระบอบประชาธิปไตย
พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทย
ผลงานที่สร้างสรรค์ต่อวัฒนธรรม
ทำให้คนไทยรอดพ้นจากประเทศล้าหลัง
ไทยมีการปกครองที่ทัดเทียมประเทศอื่น
ทำให้ไทยมีประเพณีที่มีเอกลักษณ์
ทำให้ประชากรมีชีวิตที่ดีและอิสระ
ทำให้ประเทศแตกต่างจากประเทศอื่นๆ