Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Rotterdam Convention (ความสำคัญ (ปกป้องสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากสาร…
Rotterdam Convention
ความสำคัญ
-
-
-
-
-
-
-
-
แสดงบทบาทของประเทศไทยในการดำเนินการตามพันธกรณีจากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (UNCED)
การปฎิบัติตามพันธะสัญญา
การแจ้งการใช้มาตรการด้านกฎระเบียบขั้นสุดท้ายสำหรับสารเคมีต้องห้ามหรือที่ถูกจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดภายในประเทศ
-
-
หากเป็นกรณีที่ไม่ยินยอมนำเข้า ต้องประกันว่าจะไม่มีการนำเข้าสารเคมีชนิดนั้นจากแหล่งใดๆก็ตามและจะต้องไม่มีการผลิตสารเคมีชนิดนั้นเพื่อใช้ภายในประเทศ รวมทั้งการประกันว่าไม่ส่งออกสารเคมีไปยังภาคีผู้นำเข้าที่ไม่ได้แจ้งท่าที หรือแจ้งท่าทีชั่วคราว ไม่ได้ระบุท่าทีการตัดสินใจ
ต้องแจ้งข้อมูลการส่งออกสารเคมีต้องห้าม หรือสารเคมีที่ถูกจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดให้แก่ภาคีผู้นำเข้าก่อนการส่งออกครั้งแรกในทุกปีปฏิทิน และข้อมูลที่ต้องแจ้งพร้อมกับสารเคมีที่ส่งออก อาทิ รหัสระบบศุลกากรโดยจำเพาะขององค์การศุลกากรโลก การติดฉลากระบุความเสี่ยงหรืออันตรายต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม และเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี
ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ เทคนิค เศรษฐกิจและกฎหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับสารเคมีที่อยู่ในขอบเขตของอนุสัญญาฯ รวมทั้งข้อมูลด้านพิษวิทยา พิษวิทยาสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย การให้ข้อมูลเผยแพร่แก่หมู่สาธารณชนเกี่ยวกับมาตรการด้านกฎระเบียบในประเทศที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ข้อมูลด้านการจัดการสารเคมีและอุบัติเหตุจากสารเคมี รวมทั้งข้อมูลทางเลือกอื่นๆ ที่มีความปลอดภัยมากกว่า
ร่วมมือกันในการส่งเสริมการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
และขีดความสามารถในการจัดการสารเคมีตลอดวงจรของสารเคมี รวมทั้งการจัดฝึกอบรมแก่ภาคีอื่น
-
ความเกี่ยวข้องกับประเทศต่างๆ
ในอาเซียน ภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดัม ประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่ได้ภาคยานุวัติแล้ว ยกเว้นประเทศบรูไนดารุสซาลาม และเมียนมาร์ เท่านั้น
เช่น มาเลเซีย ประสบปัญหาการตรวจสอบสารเคมีที่นำเข้า เนื่องจากการจัดทำเอกสาร PIC นั้น เป็นการจัดทำรายงาน (safety data sheet) จากประเทศผู้ส่งออก หรือ ประเทศต้นทาง ที่ไม่สอดคล้องหรือตรงกับของประเทศผู้นำเข้า หรือ ประเทศปลายทาง ทำให้เกิดปัญหาความยุ่งยากในการนำเข้าประเทศ อันอาจจะเป็นผลเสียทางธุรกิจต่อผู้ประกอบการภายในประเทศผู้นำเข้าได้
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติหนุนขึ้นบัญชีดำแร่ใยหินไครโซไทล์ในเวทีโลก ย้ำอนุกรรมการกำหนดท่าทีประเทศไทยในเวทีอนุสัญญารอตเตอร์ดัมต้องใช้ข้อมูลที่รอบด้านและมีความรู้เรื่องอันตรายจากแร่ใยหินอย่างถูกต้อง พร้อมขอให้ทุกหน่วยงานดูแลผู้บริโภค เร่งกระจายข้อมูลถึงผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้าง ดูแลผู้ใช้แรงงานทั่วประเทศ
ตัวอย่างคลิปข่าว
https://www.youtube.com/watch?v=SBGiGMXEM6Y&feature=share
-
-
-
-