Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อ…
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก
(Computer network) หมายถึงระบบสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ รวมถึงใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ โดยทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มทำงานในเวลาเดียวกันได้ สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน และใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า
ประเภทของระบบเครือข่าย
1) ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (local area network: LAN)
2) ระบบเครือข่ายระดับเมือง (metropolitan area network: MAN)
3) ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (wide area network : WAN)
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย
(Network Topology)
1)การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus network)เป็นเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนเคเบิลสายโคแอ็กเซียล หรือสายใยแก้วน าแสง และคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งๆ สามารถถ่ายทอดข้อมูลได้อย่างอิสระโดยข้อมูลจะวิ่ง ผ่านอุปกรณ์ต่างๆบนสายเคเบิล สายโคแอกเชียลหรือสายใยแก้วน าแสงจนกว่าจะถึงต าแหน่งที่อยู่ระบุไว้
2) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network)เป็นการเชื่อมต่อสายสื่อสารจากคอมพิวเตอร์หลายๆไปยังฮับ (hub) หรือสวิตซ์ (switch) ซึ่งเป็นอุปกรณ์สลับสาย แบบกลางแบบจุดต่อจุด การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาวเป็นศูนย์กลางของการต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ติดต่อสื่อสารถึงกัน
3) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring network)
เครือข่ายแบบนี้จะมีการติดต่อสื่อสารเป็นแบบวงแหวน
โดยที่ไม่มีคอมพิวเตอร์หลัก คอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องใน
เครือข่ายสามารถติดต่อกันได้โดยตรง
4) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม (Hybrid network)
เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนเป็นการผสมเครือข่ายหลายๆ แบบเข้าด้วยกัน
องค์ประกอบของระบบสื่อสาร
ข้อมูลสำหรับเครือข่าย
1) ข่าวสาร (message)
2) แหล่งกำเนิดข่าวสาร (source)
3) สื่อหรือตัวกลาง (medium)
4) แหล่งรับข่าวสาร (receiver)
5) โพรโทคอล (protocol)
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึงระบบการถ่ายโอนข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย
1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair)
2) สายโคแอ็กเซียล (Coaxial cable)
3) สายใยแก้วนำาแสง (fiber-optic cable)
สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย
1) คลื่นวิทยุ (radio frequency)
2) ดาวเทียม (satellite)
3) คลื่นไมโครเวฟ (microwave)
4) อินฟราเรด (Infrared)
อุปกรณ์เครือข่าย
1) ฮับ (Hub) คืออุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจาก
อุปกรณ์รับส่งหลายๆ สถานีเข้าด้วยกันฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน
2) สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์รวมสัญญาณที่มา
จากอุปกรณ์รับ-ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ
3) อุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router)ในการ
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
1) สื่อสารทางเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น บางครั้งก็เรียกว่า การส่งทิศทางเดียว (unidirectional data bus)
2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex) ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ
3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex) ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
เครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสอง
โพรโตคอล
โพรโตคอล คือ ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น
ภาษากลางในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
นางสาวกานต์สิรี พรหมนอกฐิติ เลขที่ 31 ม.5/9