Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (อุปกรณ์เครือข่าย (1) ฮับ…
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่าย
1) ฮับ (Hub) คืออุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจาก
อุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน
2) สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจาก
อุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกันเหมือนฮับ แต่แตกต่างคือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปทุกสถานีเหมือนฮับ
3) อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (Router)ในการ
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
ท าได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสอง
เครื่องต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทาง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่าน
ส่วนมากเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุต
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
1) สื่อสารทางเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น บางครั้งก็เรียกว่า การส่งทิศทางเดียว
2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex) ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ
3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex)
ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น
โพรโตคอล
ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น
ภาษากลางในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย
1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) เป็นสื่อหรือตัวกลางที่มีราคาถูกที่สุดและนิยมใช้มากที่สุด
2) สายโคแอ็กเซียล (Coaxial cable)หรือที่นิยมเรียก สั้น ๆ ว่าสายโคแอ็ก เป็นสื่อหรือตัวกลางที่มี
ส่วนของสายส่งข้อมูลเป็นลวดทองแดงอยู่ตรงกลาง
3) สายใยแก้วนำแสง (fiber-optic cable)เป็นสื่อหรือตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรูปของแสงโดยเปลี่ยน
สัญญาณข้อมูลหรือสัญญาณไฟฟ้าเป็นคลื่นแสงก่อนแล้วส่งผ่านเส้นใยแก้วนำแสงที่หุ้มด้วยพลาสติกไปยังปลายทาง
สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย
1) คลื่นวิทยุ (radio frequency)เป็นสื่อกลางที่เชื่อมต่อง่ายสามารถทะลุผ่านผนังหรือกำแพงได้ ระยะไม่ไกลมาก นิยมใช้ในบ้านเรือนหรืออาคาร
2) ดาวเทียม (satellite)เป็นสื่อหรือตัวกลางที่มีสถานีรับ-ส่งอยู่บนพื้นดิน ส่งตรงไปยังดาวเทียมแล้ว
ส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ระยะไกลกว่าระบบสื่ออื่นๆ
3) คลื่นไมโครเวฟ (microwave) สัญญาณของไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงดั้งนั้นสถานีจะต้องตั้งอยู่ในที่สูง ๆ หรือมีเสาสัญญาณสูง สัญญาณจึงจะเดินทางได้สะดวก
4) อินฟราเรด (Infrared) เป็นสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางตัวส่งและตัวรับสัญญาณ เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังเครื่องรับโทรทัศน์
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป
โดยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เป็นศูนย์กลาง เรียกว่า เซิฟเวอร์ (Server) และระบบเครือข่าย (network)
จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือเรียกว่า เครื่องลูกข่าย (Client) เข้าด้วยกัน
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus network)
เป็นเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนเคเบิล สายโคแอ็กเซียล หรือสายใยแก้วนำแสง
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network)
เป็นการเชื่อมต่อสายสื่อสารจากคอมพิวเตอร์หลายๆ ไปยังฮับ (hub) หรือสวิตซ์ (switch)
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring network)
เครือข่ายแบบนี้จะมีการติดต่อสื่อสารเป็นแบบวงแหวน
โดยที่ไม่มีคอมพิวเตอร์หลัก
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม (Hybrid network)
เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนเป็นการผสมเครือข่ายหลายๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น เครือข่ายแบบ
บัสผสมกับแบบวงแหวนและเครือข่ายแบบดาว
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย
1)ข่าวสาร (message) เป็นข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น อักขระ ภาพ เสียง
2)แหล่งกำเนิดข่าวสาร (source) หรือเรียกว่า “ผู้ส่งข้อมูล (Sender)” เป็นอุปกรณ์หรือซอฟต์แวร์ที่
ท าหน้าที่จัดส่งข่าวสารข้อมูลซึ่งน
3)สื่อหรือตัวกลาง (medium) ในการส่งข้อมูล สื่อ อาจเป็นอุปกรณ์หรือวัตถุหรือพาหะชนิดใดก็ได้
4) แหล่งรับข่าวสาร (receiver)ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกถ่ายทอดมาจากผู้ส่ง
ข้อมูลผ่านสือที่เชื่อมต่อระหว่างกัน
5) โพรโทคอล (protocol) คือข้อก าหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์เครือค่ายที่ใช้โปรโทคอลชนิดเดียวกัน
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่าย
หมายถึงระบบการถ่ายโอนข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป
ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ
ทำงานเเป็นกลุ่มในเวลาเดียวกันได้
ประเภทของระบบเครือข่าย
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.ระบบเครือข่ายท้องถิ่น(local area network: LAN)
เป็นเครือข่ายระยะใกล้ หรือเป็นองค์กรเดียวกัน เช่นโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย
2.ระบบเครือข่ายระดับเมือง (metropolitan area network: MAN)เป็นเครือข่ายระยะกลาง
ใช้ภายในเมืองจังหวัดเดียวกัน เช่น ระบบเคเบิล
3.ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (wide area network : WAN) เป็นเครือข่ายระยะใหญ่ มีสถานีเชื่อมต่อมากกว่า 1 แสนจุด เช่นคลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
น.ส สาริศา. ค้าคล่อง. ม.5/11 เลขที่ 37