Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการปกครองในรัสเซีย (การปฏิวัติระยะที่ 2 (ผลการปฏิวัติ…
การเปลี่ยนแปลงการปกครองในรัสเซีย
Russian Revolution
การสิ้นสุดการปกครองด้วยระบอบกษัตริย์
รัสเซียกลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
บุคคลสำคัญในการปฏิวัติ
วลาดิมีร์ อุยยานอฟ / เลนิน
เลฟ คาเมเนฟ
เลออน ทรอตสกี
พรรคสังคมประชาธิปไตยแห่งคนงาน
วัตถุประสงค์ ล้มล้างนายทุน สร้างสังคมปราศจากชนชั้น
แตกเป็น 2 กลุ่ม
เมนเชวิค
ต้องการเปลี่ยนแปลงโดยสันติวิธี
บอลเชวิค
พวกหัวรุนแรง ต้องการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน
การปฏิวัติรัสเซีย มี 2 ระยะ
เดือนกุมภาพันธ์ 1917
การสิ้นสุดการปกครองด้วยระบอบกษัตริย์
เดือนตุลาคม 1917
รัสเซียกลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
การปฏิวัติระยะที่ 1
สาเหตุ
ความขัดแย้งระหว่างซาร์นิโคลัสที่ 2 กัยสภาดูมา
ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในราชสำนัก
การครอบงำราชสำนักของรัสปูติน
ผลจาการเข้าร่วม WW I
ความพ่ายแพ้ต่อญี่ปุ่น ใน ค.ศ.1905
ความไม่พอใจต่อการบริหารประเทศของซาร์ฯ ที่ 2
เหตุการณ์การปฏิวัติ
การปะทะกันระหว่างกลุ่มสตรีที่นัดหยุดงานประท้วงกับประชาชนที่กำลังเข้าแถวเพื่อรอรับการปันส่วนขนมปัง
Bloody Sunday
ทหารยิงปืนใส่คนงานที่เดินประท้วงไปพระราชวังฤดูหนาว
ผลการปฏิวัติ
การสิ้นสุดของระบบกษัตริย์
การล้มล้างราชวงศ์โรมานอฟ
มีรัฐบาลเฉพาะกาล
การปฏิวัติระยะที่ 2
การยึดอำนาจของพวกบอลเชวิคในกรุงเปโตรกราด
รัฐบาลชั่วคราวล่มสลาย
เปลี่ยนจาก สภาโซเวียตของประชาชนชาวรัสเซียทั้งมวล เป็น สภาผู้ตรวจการของประชาชน
ผลการปฏิวัติ
รัสเซียกลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
การยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญ
การกำหนดให้ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง
ธนาคารต่างๆ เป็นของรัฐ
การจัดการปกครองภายใน
มี.ค. 1918 พรรคบอลเชวิค > พรรคคอมมูนิสต์
รัฐบาลคอมมูนิสต์นใช้รัฐธรรมนูญ
รัสเซียปกครองแบบสาธารณรัฐ
สงครามกลางเมือง
กองทัพแดง (บอลเชวิค) vs กองทัพขาว
สาเหตุ
ความต้องการเสรีนิยม
ฝ่ายสัมพันธมิตรแทรกแซงช่วยเหลือฝ่ายต่อต้านบอลเชวิค
ผล
บอลเชวิคชนะ
บอลเชวิคสามารถขยายอิทธิพลเข้าไปในทุกภูมิภาค แห่งสุดท้ายคือ วลาดีวอสตอค
บอลเชวิคมีอำนาจสูงสุดในการปกครองรุสเซีย
สนธิสัญญาสงบศึกเบรสท์-ลิทอฟ
ระหว่างพรรคคอมมูนิสต์กับมหาอำนาจกลาง
เกิดประเทศเอกราช
ลัทเวีย
ลิทัวเนีย
แอสโทเนีย
โปแลนด์
ฟินแลนด์
ยูเครน
รัสเซียสูญเสียประชากร สูญเสียพื้นที่ในยุโรป และสูญเสียเหมืองแร่เหล็กและเหมืองถ่านหิน