Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
chapter 6 เทคโนโลยีและสารสนเทศ (((จะให้สารสนเทศสำหรับระดับปฏิบัติการ,…
chapter 6 เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง
ข่าวสาร
ที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (Raw data) มา
คำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่
สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้
ได้สารสนเทศที่ต้องการ โดยจะรวมถึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรคมนาคม
กระบวนการ (ในการนำเครื่องมือ ใช้งาน
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
มีความถูกต้องชัดเจน
ตรงกับความต้องการ
มีความกะทัดรัด ปริมาณพอเพียง
เป็นปัจจุบัน ทันสมัย
สะดวก รวดเร็ว ทันต่อการใช้งาน
เชื่อถือได้
เป็นระบบต่อเนื่องในการนำมาใช้งาน
กระบวนการของระบบ
สารสนเทศ
ขั้นเก็บข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นรายงาน
ขั้นเผยแพร่
ขั้นนำไปใช้
รูปแบบโครงสร้างโมเดลขององค์กร
ตามลำดับชั้น
ระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
ระดับวาง
แผน
กลยุทธ์
ระดับวางแผนการ
บริการ
ระดับวางแผน
ปฏิบัติการ
ระดับปฏิบัติการ
จากรูป แบบโครงสร้างโมเดลของ
องค์กรตามลำดับชั้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ
จากรูป บุคลากรในแต่ละระดับชั้นมีหน้าที่ดังนี้
ระดับปฏิบัติการ
จะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะเป็น
ผู้จัดหาข้อมูลเข้าสู่ระบบ
ระดับวางแผนปฏิบัติการ
จะเป็นผู้บริหารขั้นต้นมีหน้าที่ควบคุมการ
ปฏิบัติงานประจำวัน และวางแผนบริหารงานที่
มีระยะเวลาสั้นๆ
ระดับวางแผนการบริหาร
จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่ในการ
วางแผนให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ ตามที่ผู้
บริหารระดับสูงกำหนดมา
ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
จะเป็นผู้บริหารระดับสูงสุด จะเน้นในเรื่อง
เป้าประสงค์ขององค์กร และการวิเคราะห์
แนวโน้มในอนาคต (Trend Analysis)
ระบบประมวลผลรายการ
(TPS : Transaction Processing
Systems)
จะให้สารสนเทศสำหรับระดับปฏิบัติการ
เท่านั้น
มีการใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่าย
ไม่มีความยืดหยุ่น
ไม่ตอบสนองทันทีทันใด ต้องรอให้ถึงเวลา
สรุป
เช่น เจ้าหน้าที่ทำการป้อนข้อมูลในระบบการ
จองตั๋วเครื่องบิน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(MIS:Management Information
System)
สร้างสารสนเทศสำหรับผู้บริหารทั้งระดับกลาง
และระดับสูง ช่วยในการ
ควบคุม/ตรวจสอบการดำเนินงาน
วางแผน
ตัดสินใจ
ข้อมูลอาจมาจากฐานข้อมูลของระบบประมวลผล
ธุรกรรม มาสรุป เปรียบเทียบ ทำสถิติ
วิเคราะห์ เป็นต้น
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(DSS :Decision Support
Systems)
ช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหารเป็นไปได้
อย่างสะดวก และง่ายต่อการเรียนรู้ และการใช้
งาน
สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ
มีข้อมูลและแบบจำลองสำหรับสนับสนุนการ
ตัดสินใจที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ
ของปัญหา
มีความยืดหยุ่นที่จะสนองความต้องการที่
เปลี่ยนแปลงไป
สูง
(EIS :Executive Information
Systems)
จุดเด่นของระบบคือการใช้งานไม่จำเป็นต้องมีค
วามรู้เรื่องคอมพิวเตอร์
นำข้อมูลจากภายในองค์กร และจากภายนอก มา
จัดทำข้อสรุป
เรียกใช้ได้ง่าย รวดเร็ว ดูเข้าใจง่าย
ตัวอย่างของรายงาน เช่น รายงานเกี่ยวกับการเงิน
และสถานภาพทางธุรกิจ ของบริษัท
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Systems)
เกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge)
มากกว่าสารสนเทศ
ใช้หลักการทำงานด้วย ระบบปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence) เช่น Neural
Network
ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและ
กฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมจากสาขา
วิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐาน
ความรู้ (knowledge base) และโปรแกรม
จะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้
ในลักษณะการถามตอบและประมวลคำตอบ
เพื่อหาข้อสรุป
เช่น Neural Network
เป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ประเภทหนึ่งมีค
วามสามารถในการเรียนรู้ เพราะว่าได้ถูก
ตัวอย่างของ (Expert Systems)
ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอ
ในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึง
ปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการ
เจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงาน
ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วน
เครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นัก
ธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อ
พิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการ
กำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต
(Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้
บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้
สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลง
การผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป
อย่างรวดเร็ว
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตร
เครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงาน
ตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การ
อนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกิน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
และ
ขบวนการทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน
การเงิน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
ผลิต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
ตลาด
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน
ทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
บัญชี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ผลกระทบในทางบวก
ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์
ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวก
ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์
เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญ
รุ่งเรือง
ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
ผลกระทบในทางลบ
ทำให้เกิดอาชญากรรม
ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย
ทำให้เกิดความวิตกกังวล
ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ
ทำให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจทำลายสูง
ทำให้ข้อมูลหรือโปรแกรมถูกทำลายได้