Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนที่มาและความสำคัญ :pencil2: (แนวการเขียนแบบที่ 2 :!!:…
การเขียนที่มาและความสำคัญ :pencil2:
การเขียนที่มาและความสำคัญของโครงงาน ผู้ทำโครงงานจำเป็นต้องศึกษา หลักการทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจจะศึกษา หรือพูดเข้าใจง่าย ๆ ว่าเรื่องที่สนใจจะศึกษานั้นต้องมีทฤษฎีแนวคิดสนับสนุน เพราะความรู้เหล่านี้จะเป็นแนวทางสำคัญในเรื่องต่อไปนี้ :fountain_pen:
แนวทางในการออกแบบการทดลองหรือการรวบรวมข้อมูล
ใช้ประกอบการอภิปรายผลการศึกษา
แนวทางตั้งสมมติฐานของเรื่องที่ศึกษา
ความหมาย :check:
การอธิบายให้กระจ่างชัดว่าทำไม ทำแล้วได้อะไร หากไม่ทำจะเกิดผลเสียอย่างไร ซึ่งมีหลักการเขียนคล้ายการเขียนเรียงความ ทั่ว ๆ ไป คือ มีคำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป
ส่วนต่างๆของการเขียนที่มาและความสำคัญ :pen:
ส่วนที่ 1 คำนำ
เป็นการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปัญหาที่มีส่วนสนับสนุนให้ริเริ่มทำโครงงาน
ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง
อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ของการทำโครงงานโดยมีหลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา
ส่วนที่ 3 สรุป
สรุปถึงความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหา
แนวการเขียนแบบที่ 2 :!!:
สภาพปัจจุบัน
เป็นการบรรยายสภาพทั่วไปของสิ่งที่สนใจจะศึกษา
ปัญหา
เป็นการบรรยายปัญหาของของสิ่งที่สนใจจะศึกษา
สาเหตุของปัญหา
เป็นการบรรยายถึงสาเหตุที่นำมาซึ่งปัญหาของของสิ่งที่สนใจจะศึกษา
แนวทางแก้ไขปัญหา
เป็นการบรรยายถึงแนวทางแก้ไขปัญหาของของสิ่งที่สนใจจะศึกษา
การสรุปที่มาและความสำคัญของปัญหา
โดยอาจสรุปได้ว่า”คณะผู้จัดทำจึงมีความประสงค์ที่จะจัดสร้างโครงงาน