Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมู…
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญต่อหน่วยงานต่างๆทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ทำงานในเวลาเดียวกันได้ สามารถใช้ข้อมูลต่างร่วมกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (Computer network)
2.ประเภทของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระดับเมือง (metropolitan area network : MAN)เป็นเครือข่ายขนาดกลางที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียง เช่น ระบบเคเบิลทีวีทีมีสามชิกตามบ้านทั่วไป
1.ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น ( local area network : LAN )เป็นเครือข่าบระยะใกล้ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกันหรืออาคารใกล้กัน เช่น สำนักงานภายในโรงเรียน
3.ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (wide area network : WAN)เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ใช้ติดต่อบริเวณกว้าง มีจุดหรือสถานีเชื่อมต่อมากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหายชนิด เช่น ระลลคลื่นวิทยุ คลื่นไมโคเวฟ หรือดาวเทียม
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย (Network Topology)
คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปสามารถติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ด้วยอุปกรณืเชื่อมต่อ เช่น สายโทรศัพท์ ซึ่งเป็นตัวกลางที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลถึงกัน" โดยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เรียกว่า เซฟเวอร์ ( Server)"
ระบบเครือข่าย (Network)จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องลูกข่าย (client) เข้าด้วยกันเพื่อติดต่อสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
แบ่งได้ 4 ประภท
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network) เป็นการเชื่อมต่อสายสื่อสารจากคอมพิวเตอร์ไปยังฮับ (hub)หรือสวิตซ์ (switch)เป็นอุปกรณ์สลับสาย แลลกลางแบบจุดต่อจุดการเชื่อมต่อแบบดาวเป็นศูนย์กลางของการต่อวงจร
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring network)เป็นเครือข่ายการติดต่อสื่อสารเป็นแบบวงแหวนโดยที่ไม่มีคอมพิวเตอรฺ์หลัก คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายสามารถติดต่อกันได้โดยตรง
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus network) เป็นเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนเคเบิลหรือสายใยแก้วนำแสง สามารถถ่ายทอดข้อมูลได้อย่างอิสระข้อมูลจะวิ่งผ่านอุปกรณ์ต่างๆบนสายเคเบิลจนกว่าจะถึงตำแหน่งที่ระบุไว้
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม (Hybrid network)เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนเป็นการผสมเครือข่ายหลายๆแบบเข้าด้วยกัน เช่น เครือข่ายแบบบัสผสมกับแบบวงแหวนและเครือข่ายแบบดาว
4.ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่าย
หมายถึง ระบบการถ่ายโอนข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่าย
1.ข่าวสื่อสาร (message)เป็นข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น อักขระ ภาพ เสียงซึ่งผู้ส่งข้อมูลจะต้องนำข้อมูลเข้าสู่ระบบสื่อสาร
2.แหล่งกำเนิดข่าวสาร(source)หรือเรียกว่า ผู้ส่งข้อมูล (sender)เป็นอุปกรณ์หรือซอฟแวร์ที่ทำหน้าที่จัดส่งข่าวสารซึ่งนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
3.สื่อหรือตัวกลาง(medium)ในการส่งข้อมูล สื่อ อาจเป็นอุปกรณืหรือวัตถุชนิดใดก็ได้ เช่น สายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถเชื่อมต่อแหลางกำเนิดข่าวสารและแหล่งรับข่าวสาร
4.แหล่งรับข่าวสาร (receiver)หรือเรียกว่า ผู้รับข้อมูลทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกถ่ายทอดมาจากผู้ส่งข้อมูลผ่านสื่อที่เชื่อมต่อระหว่างกันการสื่อสารจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อข่าวสารที่ผู้รับเป็นข่าวสารเดียวกัน
5.โพรโทคลอ(protocol)ข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถติดต่อและส่งข้อมูลระหว่างกันได้
6.สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพืวเตอร์
6.1สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย
1.สายคู่บิดเกลียว (twisted pair)
2.สายโคแอ็กเชียล (Coaxial cable)
3.สายใยแก้วนำแสง(fiber-optic cable)
6.2 สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย
2.ดาวเทียม (satellite)เป็นสื่อหรือตัวกลางที่มีสถานีรับ-ส่งอยู่บนพื้นดินส่งตรงไปยังดาวเทียมแล้วส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้ง เหมาะสำหรับการสื่อสารระยะไกล
3.คลื่นไมโครเวฟ (microwave)เป็นสื่อที่ใช้วิธีส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุจากสถานีหนึ่งไปยังสถานีหนึ่งและสัญญาณของไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงดังนั้นสถานีจะต้องตั้งอยู่ในที่สูงๆ
4.อินฟราเรต (Infrared) เป็นสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางตัวส่งและตัวรับสัญญาณ เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังเครื่องรับโทรทัศน์
1.คลื่นวิทยุ (radio frequency)เป็นสื่อกลางที่เชื่อมต่อง่ายสามารถทะลุผ่านได้เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณืในระยะทางไม่ไกลนิยมใช้ในอาคารบ้านเรือน
7.อุปกรณ์เครือข่าย
โดยทั่วไปเรามักใช้ระบบการรับ-ส่งข้อมูลเป็นชุดเล็กๆ เรียกว่า แพ็กเก็จซึ่งสามารถเคลื่นที่จากต้นทางไปยังปลายทางได้โดยปกติเมื่อมีการกำหนดตำแหน่งที่อยู่หรือแอดเดรส (address)ของตัวรับและตัวส่งจะต้องมีตำแหน่งที่ปรากฎอยู่ในแพ็กเก็จ
2.สวิตช์ (Switch)คือ อุปกรณ์ที่รวมสัณญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลายสถานีเพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลมาตรวจสอบก่อนแล้วดูว่าแอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะลดปัญหาการชนกันของข้อมูลเพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี
3.อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (Router) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆเครือข่ายจึงมีเส้นทางเข้า-ออกข้อมูลได้หลายเส้นทางแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่แตกต่างกันอุปกรณ์จัดเส้นทางทำหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสม
1.ฮับ (Hub)คืออุปกรณ์ที่รวมสัณญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลายๆสถานีเข้าด้วยกันฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมจุดเดียวกันฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตราฐานการรับ-ส่งหรือIEEE802.3 ดังนั้นทุกสถานีจะรับส่งสัณญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมด การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่ แอดเดรส (address)
8.โพรโตคลอ
โพรโตคลอ คือ ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หรือภาษาสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
โพรโตคลอช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ 2 ระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง โพรโตคลอมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย
เอสเอ็มพีที (SMPT:Simple mail Transfer Protocol)
พีโอพีทรี (POP3 :Post office Protocol-3
เอชทีทีพี(HTTP:Hyper Text Transfer
ไวไฟ(WI-Fi :Wireless Fidelity)
เอฟทีพี(FTP;File Transfer Protocol)
บลูทูธ (Bluet00th
ทีซีพี/ไอที(TCP/P:Transmission Control Protocol/ Intermet Portocol)
9.การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน คือ ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละ1 ไบต์ หรือ 8 บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับตัวกลางระหว่าง 2 เครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทางเพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม คือ ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับการส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนานการถ่ายโอนแบบอนุกรมต้องการตัวกลางสำหรับการสื่อสาร ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนานสำหรับการส่งระยะทางไปไกลๆ
การถ่ายโอนแบบอนุกรม แบ่งได้ 3 แบบ
สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex)
สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex)
สื่อสารทางเดียว (simplex)
นางสาว ศิริญญา ภูนาเขียว เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/11