Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการจัดการความรู้ สรุปบทที่ 1-8 5802510043 (:check: บทที่ 6…
ระบบการจัดการความรู้
สรุปบทที่ 1-8
5802510043
:check: บทที่ 2 ทำไมต้องจัดการความรู้ในองค์กร
ทำไมต้องจัดการความรู้ "เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจ"
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร :beer_mugs:
เปลี่ยนแปลงเร็ว คาดการณ์ยาก แข่งขันสูง
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โลกไร้พรมแดน
เน้นบริการที่ลูกค้าพึงพอใจเป็นสิ่งสำคัญ
มีความรู้ใหม่ๆเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในทุก 2-3 ปี
เป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร.
สภาพแวดล้อมภำยในองค์กร :beer_mugs:
ความผิดพลาดในองค์กรซ้ำๆ ของผู้ปฏิบัติงาน งานขาดประสิทธิภาพ
ความรู้ที่ผู้เชี่ยวชาญเมื่อเกษียณ/ลาออก ความรูันั้นหายไปด้วย
บางครั้งก็ไม่รู้ว่าองค์กรมีความเชี่ยวชาญที่เป็นเลิศด้านไหน
เป็นยุคที่ต้องการผลงานชัดเจน มีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อเป้าหมาย
โลกของการทำงานก็เปลี่ยนแปลงไป :warning:
งานที่ใช้แรงงานกลายเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้
งานที่ทำซ้ำเหมือนเดิมทุกวันกลายเป็นงานสร้างสรรค์
งานที่ใช้ทักษะเพียงด้านเดียวกล่ยเป็นงานที่จำเป็นต้องใช้ทักษะหลายๆด้าน
งานตายตัวตามหน้าที่กลายเป็รงานยืดหยุ่นตวามโครงการ
งานใครงานมันเปลี่ยนเป็ยงานของทีม
การจัดการความรู้ทำเพื่ออะไร :red_flag:
พัฒนาคน
พัฒนางาน
สร้างความรู้ใหม่
องค์กรบรรลุเป้าหมาย
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ :tada:
สร้างนวัตกรรมซึ่งส่งผลให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิดความแตกต่างจากคู่แข่งในตลาด จึงทำให้ได้เปรียบในการแข่งขันและต่อรองและร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า
เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ และกระบวนการทำงานต่างๆ เกิดการร่วมมือกันในการปฏิบัติงาน
เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจในการวางแผน และปฏิบัติงานในระดับต่างๆ
:check: บทที่ 6 เครื่องมือการจัดการความรู้
:no_entry: การทบทวนหลังการปฏิบัติ A
เป็นกิจกรรมที่ใช้ทบทวน หรือ ประเมินผลของกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ในแต่ละครั้งว่ามีจุดดีจุดด้อย รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค
:<3:การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง M
เป็นวิธีการถ่ายทอดความรู้แบบตัวต่อตัว
เป็นวิธีการหนึ่งในการสอนงานและให้คําแนะนําอย่างใกล้ชิด
ที่สำคัญพี่เลี้ยงจะต้องเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องพฤติกรรม จริยธรรม และการทำงานให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กร
:star:ชุมชนนักปฏิบัติ C
เป็นกลุ่มคนที่มารวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
มาจากคนที่อยู่ในกลุ่มงานเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน
มีความไว้วางใจและความเชื่อมั่นในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันและกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่สําคัญ
:black_flag: การเสวนา D
:green_cross: ฐานความรู้บทเรียน L
เป็นการเก็บข้อมูลความรู้ต่างๆ ที่องค์กรมีไว้ในระบบฐานข้อมูล
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่านอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือระบบอื่นๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง
:fire: วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ BP
การจักเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในรูปของเอกสาร
เป็นการจัดเก็บข้อมูลขององค์กรในรูปแบบง่ายๆ
เพื่อความสะดวกในการค้นหาและนำไปใช้
จัดทำฐานความรู้ของวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ อาจได้จากการทำการเทียบเคียง
:smiley: แหล่งผู้รู้ในองค์กร
:no_entry: การเล่าเรื่อง S
สร้างความสมดุลระหว่างความน่าสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ต้องการสื่อ
:red_cross: เพื่อนชวนเพื่อน P
:recycle: เวทีถาม-ตอบ F
จัดการประชุมหรือกิจกรรมอย่างกิจลักษณะอย่างสม่ำเสมอ
เช่น การสัมมนา และการประชมทางวิชาการ
:lock: อื่นๆ O
การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน
เป็นการจัดตั้งทีมเพื่อมาทำงานร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การเเลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดความรู้ระหว่างทีมจะทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างกันมากขึ้น
หัวหน้าทีมควรมีการสร้างบรรยากาศที่ดี
:confetti_ball: เครื่องมือจัดเก็บความรู้
เว็บท่าความรู้
คลังเก็บรวบรวมความรู้
มาตรฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูลสัมพันธ์
โปรแกรมค้นหา
การประชุมผ่านวิดีโอ
แผนที่เสมือนจริง
เครื่องมือการทำงานเสมือนจริง
การเรียนการสอบผ่านเว็บ
:check: บทที่ 8 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้
:no_entry: เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีการสอนกับการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้
:!?: ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการความรู้
Collaborative Computing Tools : เครื่องมือสนับสนุนการทำงานร่ามกัน หรือ กรุ๊ปแวร์ เป็นเครื่องมือที่ช่ายในการถ่ายทอดความรู้โดยนัย
Knowledge Service : ประกอบด้วยซอฟแวร์หลักสำหรับการจัดการความรู้
Enterprise Knowledge Portals (EKP) : เป็นประตูสู่ระบบจัดกการ
คาามรู้ขององค์การ ซึ่งเว็บศูนย์รวมของการจัดกการคาามรู้ ส่วนใหญ่จะบูรณาการความรู้ กลไกลการรายงาน และการทำวานร่วมกัน
Electronic Document Management Systems (EDM): เป็นระบบที่มุ่งการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบที่เน้นการทำงานร่วมกัน สนับสนุนการเข้าถึงเอกสารต่างๆ ผ่านทางเว็บเบราเซอร์ทางเครือข่ายอินทราเน็ตขององค์การ
Knowledge Harvesting Tools : เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์อย่างมากในการจับคาามรู้ โดยนัย เนื่องจากยอมให้ผู้ที่ให้ความรู้ มีส่วนเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อย (หรือไม่มีเลย) ในการพยายามเก็บเกี่ยวความรู้นั้น
Search Engines : ทำหน้าที่ในการจัดกการความรู้ เช่น การค้นหาและดึงเอกสารที่ต้องการมาจากแหล่งเก็บเอกสารขนาดใหญ่ขององค์กร
Knowledge Management Suites (KMS) : เป็นโซลูชั่นการจัดการความรู้แบบครบชุดที่รวมเทคโนโลยีการสื่อสาร การทำงานร่วมกันและการจัดเก็บในชุดเดียวกัน ซึ่งสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลภายในและแหล่งความรู้จากภายนอกได้
:fire:เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือไอซีที หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการนำระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ
:check: บทที่ 1การจัดการความรู้ (KM)
ความรู้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท :no_entry:
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์จนเป็นหลักทั่วไป
ความรู้ที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล อาจอยู่ใน ใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) อยู่ในมือและส่วนอื่นๆ ของร่างกาย (ทักษะ)
การปรับเปลี่ยนและการสร้างความรู้มี 4 รูปแบบ :star:
Socialization (S) การแบ่งปันและสร้าง Tacit Knowledge จาก Tacit Knowledge ของผู้ที่สื่อสารระหว่างกันโดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรง เช่น หัวหน้างานสอนงานให้ลูกน้อง ด้วยการพูดคุย ทำให้ดู อาจให้ลูกน้องลองทำด้วย ลูกน้องก็ได้รับความรู้จากหัวหน้างาน บางทีความรู้ใหม่ก็เกิดขึ้นจากการสอนงานนี้ด้วย
Externalization (E) การแปลง Tacit Knowledge ให้กลายเป็น Explicit Knowledge เช่น ลูกน้องเมื่อเรียนรู้วิธีทำงานจากหัวหน้าแล้ว จดบันทึกความรู้หรือเขียนเป็นรายงานความรู้ คนอื่นๆ ก็สามารถใช้เป็นแหล่งความรู้ต่อไป
Combination (C) การสร้าง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge ด้วยการ รวบรวมความรู้ประเภท Explicit Knowledge จากแหล่งต่างๆ มาสร้างเป็น Explicit Knowledge ใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการทำงาน เช่น หัวหน้างานทำการรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆ ทั้งนอกและในองค์กร รวมทั้งความรู้ที่มีอยู่เดิมมาสรุปเป็นความรู้ใหม่และเผยแพร่ หรือทำการเรียบเรียงความรู้จากภาษาต่างประเทศ
กระบวนการจัดการความรู้ :pencil2:
การบ่งชี้ความรู้ เป็นการระบุเกี่ยวกับความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมีต้องใช้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร
การสร้างและแสวงหาความรู้ เป็นการสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เดิม
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ แบ่งชนิด ประเภท เช่น กฎระเบียบ ขั้นตอนการท างาน ฯลฯ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เป็นการกลั่นกรองความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย
การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นการนำความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยน เทคนิคการทำงาน เทคนิคการแก้ปัญหา
การเรียนรู้ เป็นการนำความรู้ที่ได้จากการแบ่งปันแลกเปลี่ยนหรือสืบค้นไปใช้ประโยชน์ในการทำงาน แล้วเกิดความรู้ใหม่นำมาเข้าระบบจัดเก็บหรือแบ่งปันแลกเปลี่ยน ก็จะได้องค์ความรู้
:check: บทที่ 3 วงจรการจัดการความรู้
การจัดการความรู้
ในฐานะที่เป็นเครื่องมือทางยุทธศาสตร์ :explode:
พันธกิจ/ภารกิจขององค์กร -- Strategic gap -- ความสามารถขององค์กร
ความรู้ที่ต้องมีเพื่อตอบสนองพันธกิจและภารกิจ -- Knowledge gap -- ความรู้ที่พนักงานมีอยู่ เอกสาร , Best Practice
ในฐานะที่เป็นกระบวนการ :explode:
การบ่งชี้ความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้
ในฐานะที่เป็นเป้าหมาย :fire:
เป้าหมายของการจัดการความรู้ เพื่อ คน งาน องค์กร ชุมชน เครือข่าย สังคม คลังความรู้ขององค์กรหรือเครือข่าย
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง
เป็นกรอบความคิดเพื่อให้องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กรได้มุ้งเน้นถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะทีผลกระทบต่อการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ
การเตรียมการและปรับเปลียนพฤติกรรม
การสื่อสาร
กระบวนการและเครื่องมือ
การฝึกอบรมและการเรียนรู้
การวัดผล
การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล
:check: บทที่ 7 ขั้นตอนการนำการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ
:no_entry: หลักการ 4 ประการของการจัดการความรู้
ร่วมกันพัฒนาวิธีการทำงานในรูปแบบใหม่ๆ
เพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กำหนดไว้ หรือฝันว่าจะได้ในการจัดการสมัยใหม่
ทดลองและเรียนรู้
เนื่องจากการจัดการความรู้เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ซึ่งหมายความว่า ต้องคิดแบบ หลุดโลก จึงต้องมีวิธีดึงกลับมาสู่ความเป็นจริงในโลก หรือในสังคม
ให้คนหลากหลายทักษา หลากหลายวิธีคิด ทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์
การจัดการความรู้ที่มีพลังต้องทำโดยคนที่มีพื้นฐานแตกต่างกัน มีความเชื่อหรือวิธีคิดแตกต่างกัน (แต่มีจุดรวมพลัง คือ เป้าหมายอยู่ที่งานเดียวกัน)
นำความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม
โดยต้องถือว่า ความรู้จากภายนอกยังเป็นความรู้ที่ยัง ดิบ อยู่ต้องเอามาทำให้ สุก ให้พร้อมใช้ในบริบทของเรา โดยการเติมความรู้เชิงบริบทลงไป
:warning: 8 ขั้นตอนในการจัดการความรู้
สู่การปฏิบัติ
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลยุทธ์ KM ขององค์กร
ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการสำรวจระบบการจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่แล้วในองค์กร
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดและสร้างทีมงานจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
ขั้นตอนที่ 4 คัดเลือโครงการนำร่อง
ขั้นตอนที่ 5 สร้างโครงสร้างการจัดการ KM ในองค์กร
ขั้นตอนที่ 6 กำหนดเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการ KM
ขั้นตอนที่ 7 กำหนดแผนปฏิบัติการหลัก
ขั้นตอนที่ 8 การติดตาม ควบคุม และเปิดโครงการ
:check: บทที่ 5 องค์กรแห่งการเรียนรู้
คือ... :question:
เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นให้ทุกคนพัฒนาตนเอง พัฒนาเป็นกลุ่ม และทั่วทั้งองค์กรด้วยการเรียนรู้ที่หลากหลายตลอดเวลาของการทำงาน
องค์กรแห่งนวัตกรรม :question:
เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นให้บุคคลากรคิดสิ่งใหม่ๆ ทั้งที่เป็นวิธีการทำงาน หรือผลงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อการปฎิบัติงานที่ดีกว่าเดิม
Peter M. Senge วินัยทั้ง 5 ด้าน :pencil2:
Systems Thinking คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร
Personal Mastery ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วยศักยภาพ
Mental Models รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัวอย่างถูกต้อง
Building Shared Visions สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
Team Learning เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
Professor Marquardt มี 5 ด้าน :pencil2:
การปรับเปลี่ยนตัวองค์กร
การจัดการกับองค์ความรู้
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
การเพิ่มอำนาจ
พลวัตการเรียนรู้
David A. Garvin มี 5 อย่าง :pencil2:
แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
ทดลองใช้วิธีการใหม่ๆ
เรียนรู้ประสบการณ์ของตนและเรื่องในอดีต
เรียนรู้ประสบการณ์และวิธีการที่ดีที่สุดของผู้อื่น
ถ่ายทอดความรู้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ผลของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ :silhouettes:
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของ HRD ทุกระดับ -- ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม ระดับองค์กร
ใช้การทำงานเป็นฐานความรู้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตการทำงาน
การพัฒนาคนแบบยั่งยืน
ทุกคนมีแรงบรรดาลใจ มีอิสระ มัความสุขในการทำงาน ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับ
มีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้คนเรียนรู้ตลอดเวลา
ทุกคนสามารถวางแผนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองและกลุ่มงานของตน
ทุกคนมีความสุขในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในการทำงาน
ความรู้และประสบการณ์ต้องคงอยู่แม้ตัวจะจากไป
:check: บทที่ 4 การจัดการความรู้
ความรู้ คือ... :question:
สิ่งที่สั้งสมมาจากการศึกษษเล่าเรียน การค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ หรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ
ประเภทของความรู้
ความรู้ที่ชัดแจ้ง
เป็นความรู้แบบรูปธรรม
ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน
เป็นความรู้แบบนามธรรม
การจัดการความรู้ คือ...
:question: การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยนและประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์ โดยพัฒนาระบบจากข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และปัญญา รวมทั้งเพื่อประโยชน?ในการนำไปใช้และเกิดการเรียนรู้ภายในองค์กร
ประเด็นปัญหาชวนคิดในองค์กร :!!:
เมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออก มักมีผลกระทบกับงาน
เวลามีปัญหาในการทำงาน ไม่ทราบว่าจะไปถามผู้เก่งในเรื่องนั้นได้ที่ไหน
มีผู้ทรงความรู้มาก แต่องค์กรไมาสนใจในการเพิ่มและแบ่งปันความรู้
ใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่หาไม่ค่อยพบ หรือถ้าพบข้อมูลก็ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์ หรือำม่ตรงตามที่ต้องการ
มีข้อมูล + สารสนเทศท่วมท้น แต่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง
การดำเนินการจัดการความรู้ :!?:
กำหนดเป้าหมาย ให้ชัดเจน โดยพิจารณาจากยุทธศาสตร์ หรือจากปัญหาขององค์กร
วางแผนการจัดกิกรรม โดยใช้วงจรการจัดการความรุ้
จัดทำกระบวนการจัดการความรู้
ผลของการจัดการความรู้
คุณเอื้อ KV
ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า ทำ KM ไปเพื่ออะไร
คุณอำนวย KS
ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็นหัวใจ ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน
คุณกิจ KA
ส่วนห่าง สร้างคลังความรู้เชื่อมโยงเครื่อข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สะบัดหาง สร้างพลังจาก CoPs
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ดีขึ้น หรือได้นวัตกรรมใหม่
บุคลากร เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ เกิดชุมชนการเรียนรู้
ความรู้ของบุคคลและองค์กร มีการจัดระบบและสั่งสมไว้พร้อมที่จะนำไปใช้ประโยชน์
องค์กร มีสภาพเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง สามารถแข่งขันกับองค์กรอื่นได้