Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิชา ระบบการจัดการความรู้ รหัส 204-409 (บทที่ 6 image (ชุมชนนักปฏิบัติ …
วิชา ระบบการจัดการความรู้ รหัส 204-409
บทที่ 1 การจัดการความรู้ (KM) คืออะไร?
จาเป็นแค่ไหนต้องใช้ KM?
การจัดการความรู้
คือ การบริหารจัดการเพื่อให้“คน”ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับ“ความรู้”ที่ต้องการใช้ ใน“เวลา”ที่ต้องการ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด
เป้าหมายของการจัดการความรู้ มี 3 ประการ ดังนี้
1. การพัฒนาคน
ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร ให้มีสมรรถนะ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ สูงขึ้น ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น โดยที่บุคลากรระดับต้น ระดับกลางจะได้ประโยชน์มากที่สุด
2. การพัฒนางาน
ทาให้การทางานมีประสิทธิภาพ เช่น ผิดพลาดน้อยลง รวดเร็วขึ้น มีประสิทธิผล เช่น ลดต้นทุน ผลผลิตสูงขึ้น เกิดนวัตกรรม
3. การพัฒนาองค์กร
ทาให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์/ยุทธศาสตร์ มีศักยภาพใน การแข่งขันสูง สามารถเติบโตก้าวหน้าอย่างยั่งยืน
ความรู้อาจแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ความรู้ที่ชัดแจ้ง
(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล ผ่านการวิเคราะห์สังเคราะห์จนเป็นหลักทั่วไป ไม่ขึ้นอยู่กับบริบทใดโดยเฉพาะ สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสารและรายงานต่างๆ ซึ่งทาให้คนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เป็นความรู้ที่ไม่ค่อยสาคัญต่อความได้เปรียบในการแข่งขันเพราะใครๆ ก็เข้าถึงได้
2. ความรู้ที่ฝังในตัวคน
(Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล อาจอยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) อยู่ในมือและส่วนอื่นๆ ของร่างกาย (ทักษะ) เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับบริบทใดบริบทหนึ่งโดยเฉพาะ สื่อสารหรือถ่ายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก พัฒนาและแบ่งปันกันได้ เป็นความรู้ที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
การปรับเปลี่ยนและการสร้างความรู้ทั้งสองประเภทนี้เกิดขึ้นได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. Socialization (S)
การแบ่งปันและสร้าง Tacit Knowledge จาก Tacit Knowledge ของผู้ที่สื่อสารระหว่างกันโดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรง เช่น หัวหน้างานสอนงานให้ลูกน้อง ด้วยการพูดคุย ทาให้ดู อาจให้ลูกน้องลองทาด้วย ลูกน้องก็ได้รับความรู้จากหัวหน้างาน บางทีความรู้ใหม่ก็เกิดขึ้นจากการสอนงานนี้ด้วย
2. Externalization (E)
การแปลง Tacit Knowledge ให้กลายเป็น Explicit Knowledge เช่น ลูกน้องเมื่อเรียนรู้วิธีทางานจากหัวหน้าแล้ว จดบันทึกความรู้หรือเขียนเป็นรายงานความรู้ คนอื่นๆ ก็สามารถใช้เป็นแหล่งความรู้ต่อไป
3. Combination (C)
การสร้าง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge ด้วยการรวบรวมความรู้ประเภท Explicit Knowledge จากแหล่งต่างๆ มาสร้างเป็น Explicit Knowledge ใหม่ๆ เพื่อนามาใช้ในการทางาน เช่น หัวหน้างานทาการรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆ ทั้งนอกและในองค์กร รวมทั้งความรู้ที่มีอยู่เดิมมาสรุปเป็นความรู้ใหม่และเผยแพร่ หรือทาการเรียบเรียงความรู้จากภาษา ต่างประเทศ
4. Internalization (I)
การแปลง Explicit Knowledge มาเป็น Tacit Knowledge โดยการนาความรู้เชิงทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติงาน ทาให้เกิดความรู้เพิ่ม เช่น หัวหน้างานค้นคว้าศึกษาวิธีทางานจากเอกสารต่างๆ นามาปรับใช้กับงานของตนเองจนเกิดทักษะและความชานาญในเรื่องนั้น เกิดเป็น Tacit
ลักษณะเกลียวความรู้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI model
กระบวนการจัดการความรู้ เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
1.การบ่งชี้ความรู้
เป็นการระบุเกี่ยวกับความรู้ที่องค์กรจาเป็นต้องมี ต้องใช้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร ได้แก่ ความรู้อะไรบ้าง ความรู้อะไรที่มีอยู่แล้ว อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
เป็นการสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เดิม แยกความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้วออกไป มีหลายแนวทาง เช่น ใช้ SECI model นาบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ต่างกันมาประชุม/ทางานร่วมกัน จ้างคนที่มีความรู้มาทางานในองค์กร จ้างที่ปรึกษา
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
เป็นการวางโครงสร้างความรู้ แบ่งชนิด ประเภท เช่น กฎ ระเบียบ ขั้นตอนการทางาน ฯลฯ กาหนดวิธีการจัดเก็บและค้นคืน เพื่อให้สืบค้น เรียกคืน และนาไปใช้ได้สะดวก
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
เป็นการกลั่นกรองความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย ใช้งานได้ของความรู้ ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5.การเข้าถึงความรู้
เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
เป็นการนาความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยนเคล็ดลับ เทคนิคการทางาน เทคนิคการแก้ปัญหา หรือปรับปรุงคู่มือการปฏิบัติงาน สาหรับความรู้ที่ชัดแจ้ง Explicit Knowledge อาจจัดทาเป็น เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนความรู้ที่ฝังในตัวคน Tacit Knowledge อาจจัดทาเป็นระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนนักปฏิบัติ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว (ผู้เชี่ยวชาญจากที่หนึ่งไปปฏิบัติงานในอีกที่หนึ่ง) เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7.การเรียนรู้
เป็นการนาความรู้ที่ได้จากการแบ่งปันแลกเปลี่ยนหรือสืบค้นไปใช้ประโยชน์ในการทางาน แล้วเกิดความรู้ใหม่นามาเข้าระบบจัดเก็บหรือแบ่งปันแลกเปลี่ยน ก็จะได้องค์ความรู้ใหม่ให้ใช้ประโยชน์ต่อไปได้เรื่อยๆ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากวงจร “สร้างองค์ความรู้>นาความรู้ไปใช้>เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่” และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
โมเดลปลาทู
1.ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV)
คือ วิสัยทัศน์ของการจัดการความรู้ เป็นการกาหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ว่าดาเนินการไปเพื่อวัตถุประสงค์อะไร เช่น เพื่อพัฒนาสมรรถนะของพนักงานสู่ความเป็นเลิศ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการสินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว
2.ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS
) คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ และยากที่สุดสาหรับการจัดการความรู้ เพราะโดยทั่วไปคนมักคิดว่า ผู้มีความรู้คือผู้ที่มีอานาจ ถ้าต้องถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นก็จะรู้สึกไม่มั่นคง ไม่มีอานาจ อาจโดนคนอื่นแย่งตาแหน่ง แย่งหน้าที่การงาน ดังนั้น ในการจัดการความรู้ในส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึงมุ่งหวังจัดการให้เกิดเหตุปัจจัย และสิ่งแวดล้อมที่จะส่งเสริมให้คนตระหนัก และพร้อมที่จะแบ่งปันและเรียนรู้ร่วมกัน
3.ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA)
คือ ความรู้ที่ถูกจัดเก็บอยู่ในคลังความรู้ โดยความรู้ที่ถูกจัดเก็บต้องเป็นความรู้ที่จาเป็น มีความสาคัญ และสอดคล้องกับเป้าหมายในการจัดการความรู้ จะไม่จัดเก็บความรู้ที่นอกเหนือจากนั้นในคลังความรู้นี้ โดยจะต้องมีการวางระบบในการจัดเก็บ มีการจัดหมวดหมู่
บทที่ 2 ทำไมต้องจัดกำรควำมรู้ในองค์กร
ความมสำคัญของการจัดกำรความรู้
1. ทำไมต้อง “จัดกำรควำมรู้” ?
เพื่อควำมได้เปรียบทำงธุรกิจขึ้นอยู่กับความสามารถขององค์กรในการสร้าง และใช้สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ในกำรเพิ่มคุณภาพ ลดต้นทุน ลดระยะเวลา ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ
2. กำรจัดกำรควำมรู้ ทำเพื่ออะไร ?
ผล : พัฒนำคน / พัฒนำงำน / สร้ำงควำมรู้ใหม่ / องค์กรบรรลุเป้ำหมำย
ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้กับแนวทางการบริหารจัดการอื่น ๆ
•Benchmarking
เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดพัฒนาความรู้โดยเริ่มจากการวัดและการเปรียบเทียบกับคนที่ทาได้ดีกว่าหรือเก่งกว่าและเข้าไปศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศขององค์กรหรือผู้ที่ประสบความสาเร็จ
•ผลที่ได้รับ
คือทาให้รู้ว่าใครเป็นผู้ปฏิบัติได้ดีที่สุดและเขามีการปฏิบัติอย่างไร
•องค์กรแห่งการเรียนรู้
เป็นองค์กรที่มีการปรับเปลี่ยนและค้นหาวิธีทางใหม่ ๆ ในการผลิตผลิตภัณฑ์หรือบริการอันจะนามาซึ่งการเพิ่มประสิทธิผลในการดาเนินงานขององค์กร ทั้งนี้การที่องค์กรจะสามารถเรียนรู้เพื่อพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิผล ต้องมีการจัดการความรู้ควบคู่ไปด้วยเสมอ
•แนวทางการจัดการตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
ซึ่งได้เพิ่มเรื่องการจัดการความรู้เข้าไปในหมวดที่4 และใช้ชื่อหมวดว่าการวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้โดยอยู่ในส่วนที่4.2 เรื่องการจัดการสารสนเทศและความรู้
ประโยชน์ของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้มีผลต่อองค์กรในหลายรูปแบบ คือสร้างนวัตกรรมซึ่งส่งผลให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิด ควำมแตกต่ำงจำกคู่แข่งในตลาด จึงทาให้ได้เปรียบในการแข่งขัน และต่อรองและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า สร้างนวัตกรรมซึ่งส่งผลให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิด ควำมแตกต่ำงจำกคู่แข่งในตลาด จึงทาให้ได้เปรียบในการแข่งขัน และต่อรองและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า เพิ่มประสิทธิภาพกำรตัดสินใจในกำรวำงแผนและปฏิบัติงานในระดับต่างๆ สามารถนาสินทรัพย์ควำมรู้ที่มีอยู่ทั้งในองค์กรและนอก
องค์กรมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 3 วงจรการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ (Knowledge Management -KM)
1.
ในฐานะที่เป็นเครื่องมือทางยุทธศาสตร์ (Strategic Tool)
2.
ในฐานะที่เป็นเป้าหมาย (Goal)
เป้าหมายของการจัดการความรู้เพื่อพัฒนา
คน
งาน
องค์กร/ ชุมชน/ เครือข่าย/ สังคม
คลังความรู้(Knowledge Asset) ขององค์กรหรือเครือข่าย
ในฐานะที่เป็นกระบวนการ
1.การบ่งชี้ความรู้ (KnowdgeIdentification)
2.การสร้างและแสวงหาความรู้(Knowledge Creation and Acquisition)
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ(KnowledgeOrganization)
4.การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้(KnowledgeCodification and Refinement)
5.การเข้าถึงความรู้(KnowledgeAccess)
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้(KnowledgeSharing)
7.การเรียนรู้ (Learning)
กระบวนการความรู้ (Knowledge Process)
1. การกาหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ / การบ่งชี้ความรู้
เป็นกระบวนการค้นหาหรือกาหนดว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง
อยู่ในรูปแบบใดและอยู่ที่ใคร
เป็นกระบวนการค้นหาหรือกาหนดว่าองค์กรจาเป็นต้องมีความรู้
อะไรบ้างและความรู้นั้นอยู่ในรูปแบบใดหรืออยู่ที่ใคร
2. การแสวงหาความรู้
3. การจัดเก็บและค้นคืนความรู้
เป็นการกาหนดสิ่งสาคัญที่จะจัดเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ขององค์กรซึ่งจะต้อง
พิจารณาถึงวิธีการในการเก็บและการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการ
4. การสร้างความรู้(KnowledgeCreation -SECI)
5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
6. การเข้าถึงความรู้
7. การแบ่งปันความรู้
8. การเรียนรู้
บทที่ 4 การจัดการความรู้KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)อิงการจัดการความรู้คืออะไร รู้ (ศ.นพ .วิจารณ์ พานิช )
ความรู้ คือ
สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียนการค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ
ประเภทของความรู้
แนวคิดของการจัดการความรู้
บุคคลสำคัญในดำเนินการจัดการความรู้
1.ผู้บริหารสูงสุด (Chief Executive Officer-CEO)เป็ นผู้ผลักดันให้เกิดการจัดการความรู้ในองค์กรอย่างจริงจัง และกำหนดตัวบุคคลที่ทำหน้าที่เป็ น “คุณเอื้อ”
2.คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer-CKO)กำหนดตัว “คุณอำนวย” และร่วมกันกำหนดเป้าหมายหรือหัวปลาในระดับของ “คุณกิจ” เชื่อมโยงหัวปลาเข้ากับวิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมาย และยุทธศาสตร์ขององค์กร จัดวัฒนธรรมการเรียนรู้แนวราบ และการบริหารงานแบบเอื้ออำนาจ (Empowerment) ร่วมแลกเปลี่ยนแบ่งปันทักษะและการเรียนรู้เพื่อให้ “คุณกิจ” เห็นคุณค่าติดตามให้คำแนะนำ และแสดงความชื่นชม ยกย่องในความสำเร็จ
3.คุณอำนวย (Knowledge Facilitator-KF)เป็ นผู้คอยอำนวยความสะดวก ช่วยจุดประกายความคิด และเป็ นนักเชื่อมโยงระหว่างผู้ปฎิบัติ “คุณกิจ” กับผู้บริหาร “คุณเอื้อ” จัดให้มีเวทีและพืน้ ที่สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเก็บรวบรวมขุมความรู้เช่น ใช้ระบบ IT ส่งเสริมให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) และสร้างเครือข่ายการจัดการความรู้และการเรียนรู้ระหว่างองค์กร
4.คุณกิจ (Knowledge Practitioner-KP)เป็ นผู้ปฏิบัติงาน เป็ นผู้ดำเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ประมาณร้อยละ 90-95 ของทั้งหมด เป็ นผู้ที่มีความรู้ และเป็ นผู้ที่ต้องมาแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ และการเรียนรู้ร่วมกัน
5.คุณประสาน (Network Manaer)คอยประสานเชื่อมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้ระหว่างหน่วยงานให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงกว้างขึ้น
ประโยชน์ของการจัดการความรู้
1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร 2. ป้องกันการสญหายของภมิปัญญา ูู 3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการอย่รอด ู 4. เกิดการพัฒนาคนและองค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 5. เพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผน ดําเนินการได้รวดเร็ว 6. เพิ่มความกลมเกลียวในหน่วยงาน 7. เพิ่มคุณค่า และมลค่าให้กับองค์กร ู 8. เปลี่ยนวัฒนธรรมอํานาจในแนวดิ่งไปส่วัฒนธรรมความร้ ูู ในแนวราบ ทุกคนมีสิทธิในการเรียนร้เท่าเทียมกัน
บทที่ 6
ชุมชนนักปฏิบัติ
(Community of Practice : CoP)
เป็นกลุ่มคนที่มารวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ
มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง
(Mentoring System) (Mentoring System)
เป็นวิธีการถ่ายทอดความรู้แบบตัวต่อตัว
การทบทวนหลังการปฎิบัติ
(After Action Review (After Action Review (After Action Review (After Action Review -AAR)
เป็นกิจกรรมที่ใช้ทบทวนหรือประเมินผลของกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ในแต่ละครั้งว่ามีจุดดีจุดด้อย รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค อย่างไรในการทา CoP CoP เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการทา CoP CoP ในครั้งต่อไปให้ดีขึ้น รวมทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้เสนอแนะข้อคิดเห็น ต่างๆ เพื่อการปรับปรุงการทา CoP CoP ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกลุ่ม และเป้าหมายของสมาชิก
การเสวนา
(Dialogue)
ฐานความรู้บทเรียน
(Lesson Learned) (Lesson Learned)
เป็นการเก็บข้อมูลความรู้ต่างๆ ที่องค์กรมี ไว้ในระบบฐานข้อมูล
วิธีปฎิบัติที่เป็นเลิศ
(Best Practice (Best Practice (Best Practice -BP)
การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในรูปของเอกสาร
แหล่งผู้รู้ในองค์กร
(Center of Excellence (Center of Excellence -CoE)
การเล่าเรื่อง(Story Telling) (Story Telling)
สร้างความสมดุลระหว่างความน่าสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ต้องการสื่อ
เพื่อนช่วยเพื่อน
(Peer Assist) (Peer Assist)
เวทีถาม-ตอบ(Forum)
จัดการประชุมหรือกิจกรรมอย่างเป็นกิจลักษณะอย่างสม่าเสมอ
บทที่ึ 7 ขั้นตอนการน าการจัดการความรู้ สู่การปฏิบัติ
หลักการ 4 ประการของการจัดการความรู้
1. ให้คนหลากหลายทกัษะ หลากหลายวธิีคดิ ทา งานร่วมกนัอย่าง สร้างสรรค์ การจัดการความรู้ที่มีพลังต้องท าโดยคนที่มีพื้นฐานแตกต่างกนั มี ความเชื่อหรือวิธีคิดแตกต่างกนั (แต่มีจุดรวมพลงัคือ มีเป้าหมายอยู่ที่งาน ดว้ยกนั) ถา้กลุ่มที่ดา เนินการจดัการความรู้ประกอบดว้ยคนที่คิดเหมือน ๆ กนั การจดัการความรู้จะไม่มีพลัง2. ร่วมกันพัฒนาวิธีการท างานในรูปแบบใหม่ ๆเพื่อบรรลุประสิทธิผลที่ กา หนดไว ้หรือฝันว่าจะไดใ้นการจดัการสมยัใหม่3. ทดลองและเรียนรู้ เนื่องจากการจดัการความรู้เป็นกจิกรรมสร้างสรรค ์ซ่ึงหมายความ ว่าตอ้งคิดแบบ“หลุดโลก”จึงตอ้งมีวิธีดึงกลบัมาสู่ความเป็นจริงในโลก หรือในสังคมในการทดลองทา เพียงนอ้ย ๆ ซ่ึงถา้ลม้เหลวกก็อ่ความ เสียหายไม่มากนกั ถา้ไดผ้ลไม่ดีก็ยกเลิกความคิดนั้น ถ้าได้ผลดีกข็ยายการ ทดลองเป็นการท ามากขึ้น จนในที่สุดขยายเป็นวิธีการท างานแบบใหม่ หรือได้best practiceใหม่นั่นเอง4. น าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยตอ้งถือว่าความรู้จากภายนอกยงัเป็นความรู้ที่ยงั“ดิบ”อยู่ ตอ้งเอามาทา ให้“สุก”ใหพ้ร้อมใชใ้นบริบทของเรา โดยการเติมความรู้ เชิงบริบทลงไป
8ข้ันตอนในการจัดการความรู้ สู่การปฏิบัติ
1 กำหนดและสร้างทีมงานจัดการองค์ความรู้ ในองค์กร (Knowledge Management Team)
ซ่ึงเป็นผทู้ี่รับผิดชอบในการสร้าง KM ในองคก์ร เชื่อมโยงกบั เป้าหมายของผนู้า องคก์ร ผบู้ริหารโครงการมีทีมงานที่หลากหลายตาม ลกัษณะการดา เนินขององคก์ร
2 กำหนดกลยุทธ์ KM ขององค์กร
กา หนดกลยุทธ์ KM ขององค์กร โดยการศึกษากลยุทธ์ของ องคก์รว่ามีสาระส าคญัดา้นใดบา้ง ดา เนินการวิเคราะห์โอกาสและองค์ ความรู้ที่จ าเป็นต่อความส าเร็จขององค์กรทั้งทางด้านธุรกจิและงาน ปฏิบตัิการ เลือกองค์ความรู้ที่มีผลกระทบต่อความส าเร็จขององค์กร สูงสุด เพื่อคดัเลือกมาดา เนินการเป็นโครงการนา ร่อง
3 ดำเนินการส ารวจระบบการจัดการองค์ความรู้ที่มี อยู่แล้วในองค์กร
ดา เนินการส ารวจระบบการจดัการองคค์วามรู้ที่มีอยู่แลว้ใน องคก์ร เช่น ระบบฐานขอ้มูล ระบบ IT เพื่อทา การต่อยอดโดยไม่ตอ้ง เสียเวลาสร้างขึ้นมาใหม่
4 คัดเลือกโครงการน าร่อง (QuickWinKM Projects)
คดัเลือกโครงการนา ร่อง ( Quick Win-KM Projects) ใหเ้ลือก โครงการนา ร่อง 2-3 โครงการ ตามความเหมาะสมของระดบัความ ยากง่ายของโครงการและความพร้อมของทีมงาน
5 สร้างโครงสร้างการจัดการ KM ในองค์กร
สร้างโครงสร้างการจดัการ KM ในองคก์ร การจดัการองค์ ความรู้ในองคก์รจา เป็นตอ้งไดร้ับการสนบัสนุนจากผนู้า องคก์ร และ ผเู้ชี่ยวชาญในแต่ละดา้น เพื่อสร้างองคค์วามรู้แลกเปลี่ยนและใชอ้งค์ ความรู้ใหเ้กดิประโยชน์
6 กำหนดเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการ KM
กา หนดเทคโนโลยีสนับสนุนการจดัการ KM ตั้งแต่การจัดเก็บ การจัดระบบ การสืบค้น และการค้นหาองค์ความรู้ที่ต้องการใช้ประโยชน์ ดังนั้น ระบบIT และ เครือข่ายจึงมีสาระสา คญัในการสนับสนุน KM ทั้งอยู่ในรูปแบบ พอร์ทอล( Portal) ของ องคก์ร และของบุคคล ( Personal Portal) และระบบสื่อสาร เช่น โทรศพัท ์, เทเลคอนเฟอ เร็นซ ์, อีเมลและระบบรองรับการทา งานร่วมกนั ( Collaboration)
7 กำหนดแผนปฏิบัติการหลัก
กา หนดแผนปฏิบตัิการหลกั เพอื่เป็นศูนยก์ลางและเป็นวาระขององคก์ร ในการจดัการสร้าง KM ให้เกิดขึ้นจริงในองค์กร สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ หลกัๆ คือ การบริหารโครงการ KM และการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน องคก์ร
8 การติดตาม ควบคุม และเปิดโครงการ
การติดตาม ควบคุม และเปิดโครงการ โดยธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลง การจัดการองค์ความรู้ในองค์กรไม่มีวันจบสิ้น อย่างไรก็ตามการ ด าเนินการต้องมีการติดตามผลควบคุม จากตัวชี้วัดความส าเร็จ
บทที่ 8 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือไอซีที (Information and Communications Technology) หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยากบัการนา ระบบ คอมพาิเตอร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และคาามร ้อื่นๆ ที่เกี่ยาขอ้ง มาผนากเขา้ ดกา้ยกนั เพอื่ใชใ้นกระบานการจดกัหา จดกัเก็บ สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในร ปแบบ ต่าง ๆ สา หรับในดกา้นการจดกัการคาามร ้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นปัจจยัสา คญัที่เอื้อให้การจัดกการคาามร ้ประสบคาามส าเร็จ คาามกา้าหน้าทางดกา้นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็น แรงผลกัดกนัสา คญัที่ช่ายให้การแลกเปลี่ยนคาามร ้สามารถทา ไดกง้่ายขึ้น นอกจากนี้ ระบบฐานขอ้ม ลที่ทนัสมยัก็มีส่านช่ายให้การจดกัการคาามร ้มีประสิทิิาาพมากขึ้น
เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( ICT ) กับการจัดการความรู้
Intranet Infrastructure เตรียมการเกี่ยากับหน้าที่พื้นฐานสำหรับการ สื่อสาร เช่น อีเมล ์เทเลคอนเฟอร์เรนซ์
2. เทคโนโลยกีารสอนกบัการจดกัการคาามร ู้
Private lesson เป็นกระบานการเปลี่ยนแปลงคาามร ้ที่ปรากฎชัดก แจง้ไปเป็นคาามร ้โดกยนยั ระบบที่สนบัสนุนการเรียนร ้คือ ITS (Intelligent Tutoring System)หรือ ICAI (Intelligent Computer Aided Instruction)
3. ระบบสารสนเทศกบัการจดกัการคาามร ้
ระบบงานคาามร ้ (Knowledge Work Systems) เป็นระบบที่ช่ายสนับสนุน กิจกรรมของบุคลากราชิาชีพที่มีคาามร ้ใหม่และจดกัเก็บไาเ้ป็นสินทรัพยส์ินใน องคก์ร
ซอฟตแ์าร์ที่ใชใ้นการจดกัการคาามรู้**
เครื่องมือทางเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู้ที่เรียกว่า Knowware จะประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ดังนี้
1. Collaborative Computing Tools:
เครื่องมือสนับสนุนการทา งานร่ามกนั หรือ กรุ๊ปแาร์ (Groupware) เป็นเครื่องมือที่ช่ายในการถ่ายทอดกคาามร ้โดกยนัย (Tacit Knowledge) าายในองคก์าร เช่น Lotus Notes/Domino, PlaceWare เป็นตน้
2. Knowledge Service:
ประกอบดกา้ยซอฟแาร์หลกัสา หรับการจดกัการคาามร ้ รามทั้งเป็นแหล่งเก็บคาามร ้และการเข้าถึงคาามร ้ สารสนเทศ และข้อม ล ต่างๆ
3. Enterprise Knowledge Portals (EKP)
: เป็นประต ส ่ระบบจดกัการ คาามร ้ขององคก์าร ซ่ึงเาบ็ศ นยร์ามของการจดกัการคาามร ้ (Knowledge Portals)ส่านใหญ่จะบ รณาการคาามร ้ กลไกการ รายงาน และการทา งานร่ามกนั ในขณะที่การจดกัการเอกสารและ คาามร ้จะไดกร้ับการดกา เนินการดกา้ยเซิร์ฟเาอร์
4. Electronic Document Management Systems (EDM)
:เป็นระบบที่มุ่งการ จดกัการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในร ปแบบที่เน้นการทา งานร่ามกนั สนับสนุนการ เขา้ถึงเอกสารต่างๆ ผา่นทางเาบ็เบราเซอร์ทางเครือข่ายอินทราเน็ตขององคก์าร ระบบ EDM ช่ายให้การจดกัการเอกสารและกระแสงาน(Wordflow) สามารถทา ไดก้อย่างราบรื่น อีกทั้งยังสนับสนุนการสร้างและการแก้ไขปรับปรุงเอกสาร ร่ามก
5. Knowledge Harvesting Tools
:เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์อย่างมาก ในการจบัคาามร ้โดกยนยั เนื่องจากยอมใหผ้ท ้ี่ใหค้าามร ้(Knowledge Contributor) มีส่านเกยี่าขอ้งเพียงเลก็นอ้ย (หรือไม่มีเลย) ในการ พยายามเก็บเกี่ยาคาามร ้นั้น
6. Search Engines
: ทา หนา้ที่ในการจดกัการคาามร ้ เช่น การคน้หาและ ดกึงเอกสารที่ตอ้งการมาจากแหล่งเกบ็เอกสารขนาดกใหญ่ของ องคก์าร
7. Knowledge Management Suites (KMS)**: เป็นโซล ชั่นการจัดกการ คาามร ้แบบครบชุดกที่รามเทคโนโลยีการสื่อสาร การทา งานร่ามกนั และการจดกัเกบ็(Storage)ในชุดกเดกียากนั(A Single Convenient Package) ซ่ึงสามารถเขา้ถึงฐานขอ้ม ลาายในและแหล่งคาามร ้จาก าายนอกไดก้
แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ (Alavi, 2000) ได้แก่
1. กา หนดกใหม้ีหาัหนา้คณะกรรมการ (Chief KnowledgeOfficer) หรือการสร้างทีมงานในแต่ละสาขามาร่ามกนัพฒันากระบานการ ทา งาน2. ระบุขอ้ม ลหรือคาามร ้ที่ตอ้งการใชเ้พื่อการตดกัสินใจใหช้ดกัเจน โดกยการราบรามข้อม ลจากแหล่งข้อม ลต่างๆทั้งจากสิ่งตีพิมพ ์ แฟ้มขอ้ม ล ฐานขอ้ม ลและบุคคลเพื่อเป็นขอ้ม ลประกอบการ ตดกัสินใจ พฒันาฐานคาามร ้3. จดกัทา Workflow พฒันากระบานการทา งาน (Process) โดกยการ สร้างคาามร ้ การราบรามและการจดกัเกบ็ เพื่อเชื่อมโยงไปยังผลลพัิ์ ที่ไดกจ้ากกระบานการดกงักล่าา โดกยใหค้นในองคก์รมีส่านร่ามมาก ขึ้นในการปรับปรุง Workflow 4.การสร้างและการถ่ายทอดกคาามร ้ของคนในองคก์รจะช่าย แก้ปัญหาให้งานส าเร็จและมีประสิทิิาาพขึ้นเน้นที่การตดกัสินใจ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกกระบานการโดกยใช้คาามร ้ที่ไดกช้่ายในการ ตดกัสินใจ5. พฒันาศ นยข์อ้ม ล โดกยอาศยัทกัษะการถ่ายทอดกหรือการเคลื่อนยา้ย ของคาามร ้มีการร่ามมือ ทางเทคโนโลยี 6. ทา ระบบเครือข่ายผเ ้ชี่ยาชาญหรือการประสานงานคาามร่ามมือ และการส่งเสริมการใชค้าามร ้ร่ามกัน